บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
Advertisements

การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 4 อุปทานของเงิน (Money Supply) และประเด็นสำคัญอื่น ๆ
ประสิทธิภาพการใช้นโยบายภายใต้การวิเคราะห์แบบจำลอง IS-LM
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สถาบันการเงิน.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
ระบบ บัญชีแยกประเภททั่วไป
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
Statement of Cash Flows
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
กินดีอยู่ดีด้วยสถาบันการเงิน
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
การเงินและการธนาคาร.
การบริโภค การออม และการลงทุน
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
การเข้าร่วมประชุมกับ สหกรณ์ แชร์ล๊อตเตอรี่ สหกรณ์ออม ทรัพย์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สาเหตุ : สหกรณ์ออมทรัพย์มีสภาพ คล่องมาก.
รายรับและรายจ่ายของรัฐ
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
บัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และต้นทุนประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
เงินอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
โครงการ ส่งเสริมการออม.
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
หน่วยงาน หมายถึง สำนัก/กอง/ส่วน/ฝ่าย ตามโครงสร้างของ อปท
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
1. ธุรกิจบริการ สหกรณ์เป็นตัวกลางในการเก็บค่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งน้ำเพื่อ การเกษตรของโครงการสูบน้ำและ บำรุงรักษาสุโขทัย ( ชลประทาน ) ธุรกิจนี้สหกรณ์จะมีรายได้จากการ.
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ

ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ คือปริมาณเงินทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ ต้องการถือไว้ไม่ว่าจะเป็น - เงินสด - เงินฝากกระแสรายวัน ความต้องการถือเงินสดไว้ในมือเฉยๆ ทำให้เกิดต้นทุนเสียโอกาส ดังนั้น ควรนำเงินสดไปฝากธนาคาร หรือลงทุนต่างจะได้ผลตอบแทนมากกว่า

ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ความต้องการถือเงินไว้ในมือ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ เพื่อจับจ่ายใช้สอยทั่วไป เพื่อใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน เพื่อเก็งกำไร

ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ประมาณเงินแบ่งความหมายเป็น 2 ประเภท คือ ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ (M1) คือ ปริมาณเหรียญ กษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแสรายวัน M1   =   ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit) 2. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง (M2) คือ ปริมาณเหรียญ กษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ และเงิน ฝากประจำ

การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงิน สาเหตุจากด้านการคลัง สาเหตุจากด้านการเงินภายในประเทศ สาเหตุจากด้านการเงินระหว่างประเทศ

การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงิน 1. สาเหตุจากด้านการคลัง พิจารณาจากรายรับรายจ่าย ถ้ารัฐบาลมี รายรับ > รายจ่าย = งบประมาณเกินดุล รายรับ < รายจ่าย = งบประมาณขาดดุล 2. สาเหตุจากด้านการเงินภายในประเทศ 2.1 การขายหรือซื้อคืนหลักทรัพย์ของรัฐบาล 2.2 การกำหนดอัตราเงินสำรองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์ 2.3 การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอัตราดอกเบี้ย

การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงิน 3. สาเหตุจากด้านการเงินระหว่างประเทศ ขึ้นอยู่กับ “ดุลการชำระเงิน” ถ้าปริมาณเงินเข้าสู่ประเทศ > ปริมาณเงินไหลออก = การชำระเงินเกินดุล ถ้าปริมาณเงินเข้าสู่ประเทศ < ปริมาณเงินไหลออก = การชำระเงินขาดดุล

การวัดปริมาณเงินในประเทศไทย การวัดปริมาณเงินในประเทศไทย การวัดตามความหมายอย่างแคบ (M1) คือธนบัตร เหรียญกษาปณ์ เงินฝากกระแสรายวัน การวัดปริมาณเงินอย่างกว้าง (M2) 1. เงินฝากประจำของไทยมีสภาพคล่องมาก 2. เงินฝากประจำมีลักษณะทดแทน

การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเงินในประเทศไทย สาเหตุการเงินเปลี่ยนแปลงมีอยู่ 2 ประการใหญ่ ๆ สาเหตุภายในประเทศ 1.1 การให้สินเชื่อแกภาคเอกชน 1.2 การให้สินเชื่อภาครัฐบาล 1.3 เงินฝากประจำและเงินฝากออมทรัพย์ 2. สาเหตุภายนอกประเทศ

คำถามท้ายบทที่ 4 อธิบายความหมายปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจไทย วัตถุประสงค์ของความต้องการถือเงินไว้ในมือเพื่ออะไร ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบแตกต่างกับแบบกว้าง อย่างไร การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินของไทยมีสาเหตุที่สำคัญอย่างไร การวัดปริมาณเงินในประเทศไทยวัดแบบใด (อธิบาย)