บทที่ 5 ภาวะการเงิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
สมพงศ์ อ่อนประเสริฐ พาณิชย์จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี การเคลื่อนไหวราคาสินค้าเดือนมกราคม 2551 และแนวโน้ม.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ภาวะการเงิน

ภาวะการเงิน ภาวะการเงินแบ่งออกเป็น 3 ภาวะคือ 1. ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation) 2. ภาวะเงินฝืด (Deflation) 3. ภาวะเงินตึง (Tight Money)

ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation) ภาวะเงินเฟ้อ หมายถึง ภาวะที่เงินมีอำนาจการซื้อลดลง ปริมาณเงิน เพิ่มขึ้น ราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น

สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ 1. เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์ 1.1 การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน 1.2 การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย 1.3 การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงาน 1.4 การได้เปรียบของดุลการชำระเงิน

สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ 2. เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปทาน 2.1 การเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิต 2.2 การลดลงของปริมาณสินค้าและบริการ 2.3 การเพิ่มกำไรของผู้ประกอบการ 3. เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์และอุปทานรวมกัน

ผลของเงินเฟ้อ ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้อ คือ รายได้ที่แท้จริงหรืออำนาจซื้อเปลี่ยนแปลงไป การออมลดลง ผลกระทบต่อดุลการค้าและดุลการชำระเงิน ผลกระทบต่อการให้เครดิตทางการค้า ผลกระทบต่อฐานะการเงินของรัฐบาล

ผลของเงินเฟ้อ ผลกระทบ - ผู้เสียเปรียบคือ เจ้าหนี้ และผู้มีรายได้แน่นอน - ผู้ได้เปรียบคือ ลูกหนี้ และนักธุรกิจ วิธีแก้ปัญหา - ขึ้นอัตราดอกเบี้ย และขายพันธบัตรรัฐบาล - ใช้นโยบายงบประมาณเกินดุล ด้วยการเพิ่มภาษีอากร

การวัดระดับเงินเฟ้อ เครื่องมือที่ใช้วัดระดับเงินเฟ้อ คือ ดัชนีราคา (Price Index) ดัชนีราคา (Price Index) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงการ เปลี่ยนแปลงถั่วเฉลี่ยในราคาสินค้าที่นำมาพิจารณา วิธีหาดัชนีราคา 1. การหาดัชนีราคารวมอย่างง่าย 2. การหาดัชนีราคาถ่วงน้ำหนัก

ดัชนีราคาผู้บริโภค อาหารและเครื่องดื่ม เครื่องนุ่งห่ม ดัชนีราคาผู้บริโภคแยกหมวดหมู่สินค้าและบริการออกเป็น 7 หมวดใหญ่ คือ อาหารและเครื่องดื่ม เครื่องนุ่งห่ม ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเคหะสถาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการตรวจรักษา ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพาหนะ และบริการขนส่ง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบันเทิง การอ่าน และการศึกษา ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์

ภาวะเงินฝืด (Deflation) ภาวะเงินฝืด คือ ภาวะที่มีเงินมีอำนาจซื้อเพิ่มขึ้น ปริมาณเงินลดลง ราคาสินค้าและบริการถูกลง แต่ไม่มีคนมาซื้อ

ผลกระทบของภาวะเงินฝืด รายได้ที่แท้จริงหรืออำนาจซื้อเปลี่ยนแปลงไป มีผลกระทบต่อผู้ประกอบธุรกิจ ผลกระทบ - ผู้เสียเปรียบคือ ลูกหนี้ และนักธุรกิจ            - ผู้ได้เปรียบคือ เจ้าหนี้ และผู้มีรายได้แน่นอน

การแก้ไขภาวะเงินฝืด รัฐบาลใช้นโยบายการเงินและการคลัง เพื่อเพิ่มการใช้จ่ายในการลงทุนของรัฐบาลให้สูงขึ้น ลดการออมโดยพยายามลมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารพาณิชย์ วิธีแก้ปัญหา - ลดอัตราดอกเบี้ย และซื้อพันธบัตรรัฐบาล                - ใช้นโยบายงบประมาณขาดดุล ด้วยการลดหนี้ และเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ

ภาวะเงินตึง (Tight Money) ภาวะเงินตึง คือ ภาวะที่กระแสการเงินชะงักชะงัน มีความต้องการเงิน เพื่อลงทุนเพิ่มแต่ปริมาณเงินน้อย

สาเหตุภาวะเงินตึง สาเหตุของการเกิดภาวะเงินตึง การที่ภาวะเงินเฟ้อหรือปริมาณ เงินในระบบเศรษฐกิจมีมากเกินไป รัฐบาลจึงพยายามหามาตรการ ต่างๆ มาแก้ไขเพื่อลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลง หรือเกิดจาการ ขยายการผลิต และการลงทุนในอัตราที่สูงเกินไป

ภาวะเงินตึงที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ปริมาณเงินฝากในสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นในอัตราต่ำจนผิดปกติ การขยายตัวทางด้านการลงทุนในอุตสาหกรรมเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก การลดลงของการใช้จ่างของรัฐบาล นโยบายการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์

การแก้ไขภาวะเงินตึงของประเทศไทย ขยายวงเงินกู้ที่ธนาคารพาณิชย์กู้ยืมจากธนาคารแห่งประเทศไทย รัฐบาลลดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์ลง อนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์นำพันธบัตรรัฐบาลที่มีอยู่มาไถ่ถอนคืน

คำถามท้ายบทที่ 5 ภาวะทางการเงินหมายถึงอะไร ภาวะเงินเฟ้อมีลักษณะอย่างไร สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อคืออะไร อธิบายความแตกต่างระหว่างภาวะทางการเงินเป็นอย่างไร ดัชนีราคาผู้บริโภคมีความสำคัญอย่างไร ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้อของไทยเป็นอย่างไร วิธีแก้ไขภาวะทางการเงินควรกระทำโดยวิธีใด