เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

วัตถุประสงค์ เป็นขวัญและกำลังใจแก่หน่วยปฏิบัติงานในภูมิภาค และเกิดกระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้กับหน่วยงาน หารูปแบบการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ และเป็นแบบอย่างอำเภอดีเด่นด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับเขตบริการสุขภาพ จัดมหกรรมแสดงผลการพัฒนาสุขภาพอำเภอดีเด่นด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับประเทศ

ขั้นตอนกิจกรรม สำนัก NCD จัดงานมหกรรมการจัดการความรู้ ระดับประเทศ สค 58 สำนัก NCD จัดงานมหกรรมการจัดการความรู้ ระดับประเทศ นำเสนอ Beat practice 12 เขตบริการสุขภาพ กค 58 สคร. จัดมหกรรมความรู้ และคัดเลือกอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 12 เขตบริการสุขภาพ ทีมประเมินจาก สคร + สสจ (ที่ปรึกษา ผู้ตรวจราชการ ) มีค 58 สำนักโรคไม่ติดต่อ จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้กับ สคร. และ สสจ. จังหวัดคัดเลือก อำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันโรคควบคุมโรคไม่ติดต่อ เมย - มิย 58 ทีมประเมินระดับอำเภอ / จังหวัด

องค์ประกอบเกณฑ์และคะแนน เป็นอำเภอที่ผ่านเกณฑ์อำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนในระดับ “ดี” (คือ พื้นฐาน + DCCD ผ่านเกณฑ์ > 80%) 20 2. มีกิจกรรมและผลผลิตที่สำคัญ 80 3. มีผลลัพธ์หรือผลความสำเร็จการ ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค NCD 50 รวม 150

กิจกรรมและผลผลิตที่สำคัญ (80 คะแนน) เกณฑ์การประกวด คะแนน มาตรการลดความเสี่ยงในกลุ่มประชากรทั่วไป 20 - หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย 4 หมู่บ้าน ต่อตำบล (5) - ตำบลที่ผ่านเกณฑ์ตำบลจัดการสุขภาพดีในระดับดีขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - องค์กรไร้พุง/สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรคปลอดภัย กายใจเป็นสุข - ชุมชน มีแผนการดำเนินงานโดยชุมชน ที่เป็นรูปธรรม อย่างน้อย 1 โครงการ มาตรการลดความเสี่ยงในกลุ่มเสี่ยงสูง - กลุ่ม pre DM ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม นัดติดตาม 1 / 2 / 3 เดือน และนัดตรวจ FPG ในเดือนที่ 6 ได้ ≥ ร้อยละ 80 (10) - กลุ่ม pre HT ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม ติดตามค่าความดันโลหิต 1, 2 , 3 , 6 เดือน ได้ ≥ ร้อยละ 80 มาตรการการจัดการโรคเรื้อรัง 40 มีการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการ (20) - การพัฒนาคุณภาพของคลินิก NCD ในระดับ รพสต. 10 - รพ. ผ่านเกณฑ์ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการประเมิน CVD risk ได้ ≥ ร้อยละ 60

ผลลัพธ์หรือผลความสำเร็จการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (50 คะแนน) เกณฑ์การประกวด คะแนน 1. มีนวตกรรม หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือผลิตภัณฑ์ ด้านการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ 5 2. ความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน หรือ รอบเอวเกิน ลดลง 3. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่สูบบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่ (อย่างน้อย 3 เดือน) ได้ ≥ ร้อยละ 50 4. ผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2557 ด้วยโรคเบาหวานลดลง 5. ผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2557 ด้วยโรคความดันโลหิตสูงลดลง ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดได้ตั้งแต่ร้อยละ 40 ขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 5 จากเดิม - ตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 40 เป้าหมายดำเนินการของ ปี 2558 คือร้อยละ 42 > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้น้อยกว่าร้อยละ 40 ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 10 จากเดิม - ตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 30 เป้าหมายดำเนินการของ ปี 2558 คือร้อยละ 33 10

ผลลัพธ์หรือผลความสำเร็จการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (50 คะแนน) ต่อ 7. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความกันโลหิตได้ดี > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่ สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 5 จากเดิม - ตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ร้อยละ 50 เป้าหมายดำเนินการของ ปี 2558 คือร้อยละ 52.5 > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่สามารถ ควบคุมระดับความดันโลหิตได้น้อยกว่าร้อยละ 50 ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 10 จากเดิมตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ร้อยละ 40 เป้าหมายดำเนินการ ของ ปี 2558 คือร้อยละ 44 10 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 5

เกณฑ์การให้คะแนน การให้รางวัล กรรมการประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการเขตบริการสุขภาพ, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต (เลขา) พิจารณาเกณฑ์และการให้คะแนน การให้รางวัล รางวัลดีเด่น / ดีเยี่ยม / ดี อำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับเขตบริการสุขภาพ การมอบโล่อำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อระดับเขตบริการสุขภาพ

งบประมาณที่จัดสรร (บาท) คัดเลือกผลงาน / มหกรรม รางวัล รวม สคร 1 120,000 (3 จังหวัด) 120,000 (เขต 4) 240,000 สคร 2 200,000 (5 จังหวัด) - 200,000 สคร 3 320,000 (8 จังหวัด) 120,000 (เขต 6) 440,000 สคร 4 120,000 (เขต 5) สคร 5 160,000 (4 จังหวัด) 120,000 (เขต 9) 280,000 สคร 6 360,000 (9 จังหวัด) 240,000 (เขต 7+8) 600,000 สคร 7 280,000 (7 จังหวัด) 120,000 (เขต 10) 400,000 สคร 8 120,000 (เขต 3 320,000 สคร 9 120,000 (เขต 2) สคร 10 120,000 (เขต 1) สคร 11 120,000 (เขต 11) สคร 12 120,000 (เขต 12) 3,040,000 1,440,000 4,480,000