การเตรียมข้อมูล (Data preparation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
รายละเอียดของการทำ Logbook
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
รายละเอียดของการทำ Logbook
Thesis รุ่น 1.
Algorithms.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
การใช้งาน Microsoft Excel
Surachai Wachirahatthapong
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
โปรแกรม Microsoft Access
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การเขียนรายงานการวิจัย
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การวิเคราะห์ข้อมูล.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
แบบสอบถาม (Questionnaires)
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การวิเคราะห์เนื้อหา.
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
กระบวนการวิจัย Process of Research
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
หลักการแก้ปัญหา.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
การเขียนรายงาน.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโครงการ.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมข้อมูล (Data preparation) ขั้นตอนการเตรียมข้อมูล 1. การตรวจสอบแก้ไขข้อมูลเบื้องต้น 2. การให้รหัสข้อมูล 3. การบันทึกข้อมูล 4. การตรวจสอบแก้ไขรหัสข้อมูลครั้งสุดท้าย

การตรวจสอบแก้ไขข้อมูลเบื้องต้น 1. ความครบถ้วนสมบูรณ์ (Completeness) ตรวจสอบคำตอบที่ได้รับ ข้อใดไม่ตอบต้องมีเหตุผลว่าทำไมไม่ตอบ 2. ความสอดคล้องของคำตอบ (Consistency) เพื่อขจัดความบกพร่อง ข้อมูลนั้นอาจขัดแย้งไม่ตรงกับข้อเท็จจริง เช่น เพศหญิง อายุ 81 ปี อยู่ในระยะให้นมบุตร 3. ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (Characteristics of sample) ดู ลักษณะความถูกต้องของหน่วยแจงนับ เช่น คุณลักษณะของตัวอย่าง คือ บุตรคนโตของครอบครัว การเก็บข้อมูลอาจไปเก็บในบ้านที่ไม่มีบุตร หรือบุตรคนโตไม่อยู่ในบ้าน

การให้รหัสข้อมูล (Coding) ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เรียกว่า ข้อมูลดิบ (raw data) เมื่อผ่านการตรวจสอบในขั้นแรกมาแล้ว จะนำมาให้รหัสตาม ความเหมาะสมของข้อมูล จึงเป็นการสร้างคู่มือลงรหัส (Coding manual) 1. ข้อมูลที่ใช้จำแนก (Identification or Reference Data) - ID เลขที่ของตัวอย่าง (No.) สถานที่

2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) อายุ รายได้ น้ำหนัก, ส่วนสูง, ความดันโลหิต ฯลฯ 3. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เพศ อาชีพ ฯลฯ บวก ลบ คูณ หาร ไม่ได้ ถ้าไม่ตอบ หรือไม่เข้าข่าย ให้รหัสเฉพาะ

การบันทึกข้อมูล (Code Data Transfering) การบันทึกข้อมูลในการวิเคราะห์ด้วยมือ อาจกระทำโดยการ ทำรอยคะแนน (tally mark) ส่วนการวิเคราะห์ด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ มีให้เลือกได้หลายโปรแกรม คือ dBase Excell EPIINFO SPSS Wordstar

การตรวจสอบแก้ไขรหัสข้อมูลครั้งสุดท้าย (Final Editing) 1. เปรียบเทียบรหัสข้อมูลจากคู่มือลงรหัสกับ printout 2. พิมพ์ข้อมูลชุดเดียวกัน 2 คน เขียนโปรแกรมจับคู่ข้อมูล ทั้ง 2 ชุด 3. ตรวจรหัสโดยใช้โปรแกรมตรวจสอบ เช่น VS Edit การตรวจสอบข้อมูลเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญอย่างยิ่ง เพราะ ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้อง ทำให้ผลการวิเคราะห์ผิดพลาด การแปลผล และสรุปผลจะผิดพลาดไปด้วย

(Dummy Table) การสร้างตารางจำลอง แผนในการวิเคราะห์ 1. แยกข้อมูลหรือตัวแปรจากคำถามแต่ละข้อออกมาเป็นกลุ่ม 2. แสดงคุณลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา 3. กลุ่มที่ต้องวิเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์และสมมติฐาน

วิธีที่ดีที่สุด คือ การเขียนตารางจากคำถามเป็นข้อ ๆ ช่วยให้นักวิจัยจัดกลุ่มได้ครบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน และสร้างตารางจำลองได้

ตารางจำลอง (Dummy table) ช่วยเป็นกรอบในการวิเคราะห์ รวมทั้งการแปลผล ทำให้การศึกษา มีข้อผิดพลาดน้อย ประหยัดค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ด้วย Computer องค์ประกอบของตาราง 1. หมายเลขของตาราง เป็นการระบุลำดับที่ของตาราง กำหนดให้อยู่ซ้ายมือ 2. ชื่อของตาราง เป็นข้อความที่อยู่ถัดจากหมายเลขของตาราง และอยู่แถวเดียวกัน เป็นข้อความสั้น ๆ เพื่อให้ทราบว่าข้อมูลในตารางเป็นเรื่องอะไร ที่ไหน และเมื่อใด 3. หัวเรื่องแถว เป็นส่วนของตารางที่อธิบายข้อมูลที่อยู่ในแนวนอน 4. หัวเรื่องสดมภ์ เป็นส่วนของตารางที่อธิบายข้อมูลที่อยู่ในแนวตั้ง 5. ตัวเรื่อง เป็นส่วนของตารางที่เป็นตัวเลข และตัวเลขนี้จะจำแนกตามรายละเอียด ของหัวเรื่องแถว และหัวเรื่องสดมภ์

ชนิดของตาราง 1. ตารางอย่างง่าย (Univariate tabulation) เป็นตารางที่มีตัวแปรเดียว ในหัวตารางที่เป็นแถวตั้งจะมีเพียงจำนวน และร้อยละ มักจะนำเสนอ คุณลักษณะของตัวอย่าง ไม่ได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

2. ตาราง 2 ตัวแปร (Bivariate tabulation) เป็นตารางที่มี 2 ตัวแปร ในหัวตารางที่ เป็นแถวนอนและแถวตั้งจะเป็นตัวแปรคนละพวก เช่น ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปร ตาม มักเป็นการวิเคราะห์แบบตารางไขว้ การที่จะจัดตัวแปรตามหรือตัวแปรต้น เป็นแถวตั้งหรือแนวนอนแล้วแต่ความเหมาะสมของหน้ากระดาษ การคำนวณร้อยละ ใช้ตัวแปรต้นเป็นฐาน 100 ในการคำนวณ แต่แปลผลให้ แปลผลตามตัวแปรตาม

3. ตารางที่มีตัวแปรมากกว่า 2 ตัวแปร (Multivariate tabulation) เป็นตารางที่มีตัวแปร มากกว่า 2 ตัว ในหัวตารางที่เป็นแนวนอนอาจแสดงตัวแปร 2 ตัว หรือมากกว่า หรือ ในแถวตั้งอาจแสดงตัวแปร 2ตัว หรือมากกว่าก็ได้