การประชุมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ประจำปี 2558
1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุมภายใน และ วัตถุประสงค์ของ การจัดประชุม 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุมภายใน และ การจัดทำรายงานได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อนำระบบการควบคุมภายในไปขับเคลื่อนภารกิจของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาให้มีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐาน 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ผลการปฏิบัติงานที่สำเร็จ สู่การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
กับการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา ระเบียบ คตง.ว่าด้วย การกำหนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 กับการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา โดย สมมาต คำวัจนัง รองผอ.สพป.สมุทรสาคร
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ระเบียบคตง.พ.ศ.2544 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ หลักการ /แนวคิด/คำสำคัญ ของระบบการควบคุมภายใน 3. เพื่อให้สามารถคิดเป็นระบบ เชื่อมโยงการควบคุมภายใน กับการปฏิบัติงานของสพท. และสถานศึกษาได้
ที่อยากได้หลังการฝึกอบรม สมรรถนะ ( Competency ) เป้าหมาย ที่อยากได้หลังการฝึกอบรม เครือข่ายการทำงาน ( Network )
อดีต ปัจจุบัน อนาคต มีความรู้ความเข้าใจไม่เพียงพอ ผู้บริหารระดับ สพท. ให้ความสำคัญ การกำกับดูแลน้อย เปลี่ยนผู้รับผิดชอบบ่อยครั้ง ด้าน บุคลากร ไม่มีโครงการในระดับเขต/ได้รับงบประมาณ สนับสนุนน้อย ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ การดำเนินงานระบบควบคุมภายใน บาง สพท.ส่ง ปอ.1 ล่าช้า ด้าน การจัดการ ด้าน งบประมาณ สพฐ.สนับสนุนงบประมาณน้อย ไม่เพียงพอขยายผล ควรบูรณาการระบบการควบคุมภายในกับการประเมินประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการอื่นไปพร้อมกัน อดีต ปัจจุบัน อนาคต ที่มา: รายงานการควบคุมภายใน สพฐ.,2556
ทำไม ? สพท.และสถานศึกษา ต้องมีระบบควบคุมภายใน ต้องรายงานการประเมินผล การควบคุมภายในทุกปี
มาตรฐานการควบคุมภายใน ระเบียบคตง. ว่าด้วยการกำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544
สาระสำคัญ ระเบียบคตง. พ.ศ.2544 บังคับใช้กับทุกส่วนราชการมาตั้งแต่ ปี 2544 ระเบียบ มี 9 ข้อ (ข้อ 4 /ข้อ 5 และ ข้อ 6 มีความสำคัญ ) ข้อ 4 เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร ที่ต้องนำมาตรฐานการควบคุมภายใน มาวางระบบให้มีประสิทธิภาพ สาระสำคัญ ระเบียบคตง. พ.ศ.2544 ข้อ 5 ใช้มาตรฐานในการวางระบบควบคุม ภายในให้เสร็จภายใน 1 ปี ข้อ 6 มีหน้าที่รายงานระบบการควบคุมภายใน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ภายใน 90 วัน นับ แต่สิ้นปี งปม. / ปีปฏิทิน
วัตถุประสงค์ การควบคุมภายใน 1. ให้เกิดประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ การควบคุมภายใน 2. ให้เกิดความเชื่อถือได้ของ การรายงานทางการเงิน 3.ให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดการควบคุมภายใน ของสพท./สถานศึกษา แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานประจำ และงานขับเคลื่อนกลยุทธ์ของทุกกลุ่มงาน บุคลากรทุกคนในสพท./สถานศึกษามีบทบาทอำนาจ หน้าที่ทำให้ระบบควบคุมภายในเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล เป็นหลักประกันคุณภาพการศึกษา ว่าผลการทำงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายตามมาตรฐาน
การควบคุมภายใน ( Internal Control ) คำสำคัญ : KEY WORDS การควบคุมภายใน ( Internal Control ) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับของหน่วยรับตรวจ จัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงาน
คำสำคัญ : KEY WORDS หน่วยรับตรวจ : สพฐ./ สพป./ สพม./สถานศึกษา ส่วนงานย่อย : สำนักใน สพฐ. / กลุ่มใน สพป. และสพม./กลุ่ม,ฝ่าย ในสถานศึกษา หัวหน้าหน่วยรับตรวจ : เลขากพฐ./ ผอ.สพป./ผอ. สพม./ ผอ.สถานศึกษา หัวหน้าส่วนงานย่อย : ผอ.สำนักในสพฐ./ ผอ.กลุ่ม ในสพป.และสพม./ หน.กลุ่ม หรือฝ่ายในสถานศึกษา
คำสำคัญ : KEY WORDS ความเสี่ยง หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด มาตรฐาน : ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม
ผลรวมของผลผลิตและผลลัพธ์ เป้าหมายของผลสัมฤทธิ์ของงานที่ต้องการทั้งในระยะสั้น กลางหรือระยะยาว ทรัพยากรที่ใช้ในผลิต การให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน เช่น เงินทุน คน เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เป็นต้น กระบวนการทำงาน ได้แก่ การนำปัจจัยนำเข้าทั้งหลายมาผ่านกระบวนการเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มตามมาตรฐานคุณภาพที่ได้กำหนดไว้ ผลงานหรือบริการที่องค์กรนั้นจัดทำขึ้นโดยกิจกรรมที่ให้เกิดผลงานนั้นจะอยู่ภายใต้การควบคุมขององค์การ ผลรวมของผลผลิตและผลลัพธ์ ผลกระทบที่เกิดจากผลผลิตหรือผลงานที่ได้ทำขึ้นซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อผู้รับบริการเนื่องจากการดำเนินการ น โครงการ ผลสัมฤทธิ์ RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUTS กิจกรรม PROCESSES ผลผลิต OUTPUTS ผลลัพธ์ OUTCOMES ความประหยัด Economy ความมีประสิทธิภาพ Efficiency ความมีประสิทธิผล Effectiveness การเปรียบเทียบระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ของโครงการ การใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดในการผลิต การเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยนำเข้ากับผลผลิต
การบริหารองค์กรที่ดี วัตถุประสงค์หลัก คือ การติดตาม กำกับ ควบคุมและดูแล ให้มีการจัดกระบวนการเพื่อใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ตรงเป้าหมาย คุ้มค่าและประหยัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รากฐานที่จะช่วยให้มีการกำกับ ดูแลองค์กร ที่ดีประกอบด้วย * การควบคุมภายใน * การบริหารความเสี่ยง * การตรวจสอบภายใน
การบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน โอกาส ภาวะคุกคาม การบริหารความเสี่ยง สพป. / สพม. / โรงเรียน จุดแข็ง จุดอ่อน การควบคุมภายใน ( สมมาต, 2554 )
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 11 ข้อ สู่การปฏิบัติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาในสังกัด
จุดเน้นการดำเนินงาน ของ สพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 แบ่งเป็น 3 ส่วน 1. จุดเน้นด้านผู้เรียน 3. จุดเน้นด้านการบริหารจัดการ 2. จุดเน้นด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
โครงสร้างองค์กรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ราชการส่วนกลาง นโยบาย แผน งบประมาณ วิชาการ มาตรฐานการศึกษา กำกับ ติดตาม ประเมินผล ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน สพฐ. กพฐ. 12 สำนัก 8 สำนักภายใน ราชการเขตพื้นที่การศึกษา แปลงนโยบายไปสู่ การปฏิบัติ ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ตรวจสอบ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล กพท. กพท. อ.ก.ค.ศ. สพป. 183 เขต สพม. 42 เขต อ.ก.ค.ศ. ก.ต.ป.น. ก.ต.ป.น. กรรมการ สถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา จัดการเรียนการสอน ควบคุม/พัฒนา คุณภาพมาตรฐาน กรรมการ สถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา ประถมศึกษา สถานศึกษา มัธยมศึกษา ที่มา: รายงานประจำปี 2556 สพฐ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/ มัธยมศึกษา ตรวจสอบภายใน บทบาท อำนาจหน้าที่ ขอบข่าย/ภารกิจ เป้าหมายปลายทาง อำนวยการ บริหารงานบุคคล ประสาน บริการ ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ นิเทศ ติดตาม วิจัย ให้คำปรึกษา ให้การช่วยเหลือ ด้าน วิชาการ งบประมาณ บริหาร บุคคล บริหาร ทั่วไป สถานศึกษา จัดการศึกษาได้คุณภาพตามมาตรฐาน นโยบายและแผน ส่งเสริมการจัดการศึกษา นิเทศติดตามประเมินผล การจัดการศึกษา บริหารการเงิน และสินทรัพย์ กฎ / ระเบียบ / นโยบาย / มาตรฐาน แผนพัฒนาการศึกษาของหน่วยงาน/แนวทางการพัฒนา คู่มือการปฏิบัติงาน ฯลฯ ส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน ศูนย์ ICT สมมาต,2558
ระบบการขับเคลื่อนมาตรฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐาน ที่ 1 การบริหาร จัดการองค์การ สู่ความเป็นเลิศ ( 4 ตบช. ) มาตรฐาน ที่ 2 การบริหารและ การจัดการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพ ( 5 ตบช. ) มาตรฐาน ที่ 3 ผลการบริหารและจัดการของสพท. ( 8 ตบช.) การควบคุมภายใน Internal Control (สมมาต,2558)
คุณภาพ ผู้เรียน ดี เก่ง มีความ สุข ความเสี่ยง : ผลไม่เป็นตามมาตรฐาน มาตรฐานการศึกษาของชาติ ความเสี่ยง : ผลไม่เป็นตามมาตรฐาน เป้าหมายปลายทาง มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ดี มาตรฐานการศึกษาของ สพท. คุณภาพ ผู้เรียน มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เก่ง มาตรฐานการแนะแนว มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความ สุข มาตรฐาน SBM มาตรฐานการควบคุมภายใน ฯ ล ฯ (สมมาต , 2558)
Thank you for your attention
สมรรถนะหลัก 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. บริการที่ดี 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม 5. การทำงานเป็นทีม
ความสัมพันธ์ของเป้าประสงค์ ความเสี่ยงและการควบคุม สิ่งที่ส่วนราชการต้องบรรลุ ความเสี่ยง สิ่งที่อาจขัดขวางหรือเป็นอุปสรรคทำให้ส่วนราชการไม่สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ การควบคุม สิ่งที่จะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุเป้าประสงค์ได้หากมีการบริหารจัดการที่ดี
แนวทาง การพัฒนา ตัวชี้วัด ความสำเร็จ ๓.๑ สถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบริหารจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ เน้นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม และมีความรับผิดชอบต่อผลการดำเนินงาน แนวทาง การพัฒนา ตัวชี้วัด ความสำเร็จ เมื่อสิ้นปี งปม.๒๕๕๘ สพฐ. สพท. สถานศึกษา เบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมได้ไม่น้อยกว่า ๙๖% และ งบลงทุนไม่น้อยกว่า ๘๗% ส่งเสริมการบริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เน้นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบในทุกระดับและเน้นการมีส่วนร่วมขององค์คณะบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มแข็งและเป็นกัลยาณมิตร สถานศึกษาทุกแห่ง (๑๑๔ โรง) ในโครงการพัฒนารูปแบบการบริหาร ร.ร. นิติบุคคล มีความสามารถพัฒนารูปแบบการบริหารร.ร.อย่างมีประสิทธิภาพ
๓.๒ สถานศึกษาและสพท.จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน แนวทาง การพัฒนา ตัวชี้วัด ความสำเร็จ ๑.กำกับ ติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานเขตพื้นที่การศึกษา สพท.ผ่านการประเมินมาตรฐานระดับดีมากขึ้นไป ร้อยละ ๘๐ สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง ๒.ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ๒๕๕๓ ร้อยละ ๘๐ ของสถานศึกษาที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ ๓ ผ่านการรับรองคุณภาพภายนอกจาก สมศ.เข้มแข็ง ๓.ส่งเสริมสนับให้มีการแทรกแซง ช่วยเหลือ นิเทศ ติดตามประเมินผลโดยสพท.อย่างเข้มแข็งเพื่อให้สถานศึกษาได้รับการรับรองคุณภาพภายนอกจาก สมศ. ๔.ส่งเสริมสนับสนุนให้สพท.เชิดชูเกียรติ ร.ร.ที่ นร.ที่นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น/อัตราออกกลางคันลดลง/มีพฤติกรรมเสี่ยงลดลง หน่วยงานในสังกัด สพฐ.ทุกแห่งมีผลงานที่เป็นเลิศ
มาตรฐาน ที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ ( 4 ตัวบ่งชี้ ) ตบช. ที่ 1 การบริหารจัดการที่ดี ตบช. ที่ 2 การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ ตบช. ที่ 3 การกระจายอำนาจและการส่งเสริม การบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ตบช. ที่ 4 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพ ( 5 ตัวบ่งชี้ ) ตบช.ที่ 1 การบริหารงานด้านวิชาการ ตบช.ที่ 2 การบริหารงานด้านงบประมาณ ตบช.ที่ 3 การบริหารงานด้านบริหารงานบุคคล ตบช.ที่ 4 การบริหารงานด้านบริหารงานทั่วไป ตบช.ที่ 5 การขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
มาตรฐาน ที่ 3 ผลการบริหารและจัดการของสำนักงาน มาตรฐาน ที่ 3 ผลการบริหารและจัดการของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ( 8 บ่งชี้ ) ตบช.ที่ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีผลงาน ที่แสดงความสำเร็จ และเป็นแบบอย่างได้ ตบช.ที่ 2 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การประกันคุณภาพการศึกษา ตบช.ที่ 3 ผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีคุณภาพตามหลักสูตร ตบช.ที่ 4 ผู้เรียนมีคุณภาพตามจุดเน้นและสมรรถนะสำคัญตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรฐาน ที่ 3 ผลการบริหารและจัดการของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐาน ที่ 3 ผลการบริหารและจัดการของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ตบช.ที่ 5 ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช พ.ศ.๒๕๕๑ ตบช.ที่ 6 ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ตบช.ที่ 7 ประชากรวัยเรียนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เท่าเทียมกันและส่งเสริมการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ตบช.ที่ 8 ความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย