การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
การติดต่อสื่อสาร.
ให้นักเรียนคลิกเลือกคำตอบที่คิดว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
โรงเรียนผ่องพลอยอนุสรณ์
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว
ระบบการสื่อสารข้อมูล
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูล.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา COM 3701 ระบบการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
Telecom. & Data Communications
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
แบบจำลองการสื่อสาร Communication Model.
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Principles of Communications Chapter 1 Introduction
Introduction to Network
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
การหักเหของแสง (Refraction)
ISP ในประเทศไทย
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทที่ 10 การสื่อสารการตลาด
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การสื่อสารการตลาด
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูวราภรณ์ ยอดชะลูด โรงเรียนกระสังพิทยาคม

ความหมายของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่งโดยผ่าน ช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน

องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ 1.ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร (source)   อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ  ข้อมูล และเสียงเป็นต้น  ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ  ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร  จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน

2.ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง 3. ช่องสัญญาณ (channel) ในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน อาจจะเป็นอากาศ สายนำสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้ำ น้ำมัน เป็นต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง

4. การเข้ารหัส (encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย จึงมีความจำเป็น ต้องแปลงความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้ 5. การถอดรหัส (decoding) หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน

6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด ตำแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทางปฏิบัติมักจะใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ เช่น การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็นต้น

ข่ายการสื่อสารข้อมูล ข่ายการสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้าหรือแสง  อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไป เรียกว่า ข่ายการสื่อสารข้อมูล (Data Communication Networks)

รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล แบ่งเป็น 3 ประเภท 1.แบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) 2.แบบครึ่งดูเพล็กซ์ (Half Duplex) 3.แบบดูเพล็กซ์เต็ม (Full Duplex)

1.แบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทาง โดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้ เช่นระบบวิทยุ หรือโทรทัศน์

2.แบบครึ่งดูเพล็กซ์ (Half Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด

3.แบบดูเพล็กซ์เต็ม (Full Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบโทรศัพท์