แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
รูปแบบและประชากรระบบ การเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี 26 แห่ง ( โครงการผลิตพยาบาลวิชาชีพเพิ่ม เพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่ชายแดน ภาคใต้ ) นักศึกษา 13,552 คน และอาจารย์ 1,391 คน
นิยามการเฝ้าระวัง มีอาการหรืออาการแสดง ดังต่อไปนี้ (1) มีไข้สูง และ (2) มีอาการอย่างน้อยสองอาการดังต่อไปนี้ - ปวดข้อ (Arthralgia) หรือข้อบวม (Joint swelling) หรือ ข้ออักเสบ (Arthritis) - มีผื่น (Maculopapular rash) - ปวดกล้ามเนื้อ (Myalgia) - ปวดศีรษะ (Headache) - ปวดกระบอกตา (Eye strain) ผู้ป่วยสงสัย (Suspect case)
สัมภาษณ์ประวัติก่อนเฝ้าระวัง (NC1) รายงานการเดินทางไปพื้นที่ ระบาด (NC2) สอบสวนและควบคุมโรคเมื่อมี ผู้ป่วย (NC4) การรวบรวมข้อมูล สรุปข้อมูลรายเดือน (NC3)
ไป 5 จังหวัดชายแดนใต้ มีอาการ กรอกรายงานการเดินทาง หลังกลับมาครบ 1 สัปดาห์ พบอาจารย์เพื่อซักประวัติ เบื้องต้น แล้วรายงาน SRRT รพ./ สสจ. คัดกรองแล้ว เข้าเกณฑ์ตาม นิยามเฝ้าระวัง SRRT สอบสวนโรค เก็บ ตัวอย่างเลือด / ยุง และดำเนินการควบคุมโรคทันที รวบรวมรายงานส่งสสจ. และ สำนักระบาดวิทยาทุก 1 เดือน NO YESYES NONO