ทบทวน ก่อนสอบปลายภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๐๑๙๙๙๐๓๒ ไทยศึกษา 01999032 Thai Studies ทบทวน ก่อนสอบปลายภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗
โปรดเข้าประเมินทุกรายวิชา กำหนดประเมินการเรียนการสอน ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๒ ๒๔ พ.ย.-๗ ธ.ค. ๒๕๕๗
หัวข้อที่กำหนดนำเนื้อหามาสอบปลายภาค ศิลปะไทย: ทัศนศิลป์ ศิลปะไทย: ดนตรี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะไทย: การแสดง สังคมไทย ๓ มิติ ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
เกี่ยวข้องกับศาสนา เป็นหลัก ศิลปะไทย: ทัศนศิลป์ ความหมายและประเภทของทัศนศิลป์ “จิตรกรรม” “ประติมากรรม” และ “สถาปัตยกรรม” เกี่ยวข้องกับศาสนา เป็นหลัก
ตัวอย่างงาน “จิตรกรรม” “ประติมากรรม” และ “สถาปัตยกรรม” “จิตรกรรม” “ประติมากรรม” และ “สถาปัตยกรรม” ลักษณะเด่นของทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยต่างๆ และศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวข้อง
ศิลปะไทย: ดนตรี ผศ. ณรงค์ เขียนทองกุล / อ. ราชันย์ ศรชัย / อ ศิลปะไทย: ดนตรี ผศ.ณรงค์ เขียนทองกุล / อ.ราชันย์ ศรชัย / อ.ฉัตรติยา เกียรตินาวี หลักฐานเกี่ยวกับเครื่องดนตรี/ การเล่นดนตรี “ไทย” ข้อสันนิษฐานที่มา ของเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ บทบาทหน้าที่ของดนตรี ในสังคม บุคคลสำคัญ ในวงการดนตรีของไทย
เครื่องสาย ปี่พาทย์ มโหรี
ศิลปะไทย: การแสดง รศ.ดร.เสาวณิต วิงวอน ศิลปะไทย: การแสดง รศ.ดร.เสาวณิต วิงวอน ความหมาย ประเภท: แบบหลวง / พื้นบ้าน หลักฐาน องค์ประกอบ: การออกท่าทาง /ดนตรี / การขับร้อง / วรรณกรรม ประเภท: หนัง/โขน / หุ่น/ ละคร ฯลฯ
การถ่ายทอดข้ามวัฒนธรรม ทางศิลปะการแสดง เขมร ไทย อินโดนีเซีย
ศิลปะ การแสดง มีคุณค่าอย่างไร ตัวอย่าง พัฒนาการศิลปะการแสดงของไทย ศิลปะ การแสดง มีคุณค่าอย่างไร 1. ละครใน 2. ละครนอก 1. ละครเสภา 2. ละครพันทาง 3. ละครดึกดำบรรพ์ 4. ละครร้อง 5. ละครพูด
วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น อ. ดร. กฤตยา ณ หนองคาย / อ วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น อ.ดร.กฤตยา ณ หนองคาย / อ.วรรณา นาวิกมูล -ความหมาย -การจำแนกประเภท -ลักษณะสำคัญ -ปัจจัยที่ทำให้เกิด ความหลากหลาย -ตัวอย่าง -คุณค่า
ประเทศไทย แบ่งเป็นภูมิภาค แต่ละ ภูมิภาค มีลักษณะเฉพาะทาง ภูมิศาสตร์ ประเทศไทย แบ่งเป็นภูมิภาค
จีน พม่า ลาว กัมพูชา มาเลเซีย ความแตกต่างของสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และทางสังคม เป็นปัจจัยกำหนด ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม ของแต่ละภูมิภาค จีน พม่า ลาว กัมพูชา มาเลเซีย
และภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณค่าของ วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ผลงานวิจัยเรื่องภูมิปัญญาไทย ของ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง
โปรดเข้าดู Ppt. ที่เว็บไซต์ ku-iged.psd.ku.ac.th สังคมไทย ๓ มิติ อ.วรรณา นาวิกมูล โปรดเข้าดู Ppt. ที่เว็บไซต์ ku-iged.psd.ku.ac.th
นี่คือกรอบความรู้ที่นิสิตได้เรียนมา ในภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗
จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค องค์ประกอบของข้อสอบ คะแนนเต็ม ๒๕ ปรนัย ๔ ตัวเลือก ๑๐๐ ข้อ ๒๐ คะแนน เนื้อหา: ศิลปะ: ทัศนศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น วิถีชีวิตคนไทยในอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต + อัตนัย ตอบคำถามสั้นๆ เรื่องของอาเซียน + สาระบางประการจาก ”สัปดาห์ ไทยศึกษา”
ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โปรดศึกษาจากบทความที่นำเสนอ ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ในเว็บไซต์ต่างๆ อาทิ http://www.aseanthailand.org/h2_4.html , http://www.crc.ac.th/ASEAN/ และ http://www.baanjomyut.com/library_2/ asean_community/14.html
จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบปลายภาค จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบปลายภาค วันอาทิตย์ที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. วัน/เวลา สถานที่ หมู่ ๑ ศศ., ศษ, สค.,วศ. ศร.๑-๓๓๒ หมู่ ๑ อื่นๆ + หมู่ ๒ ศษ. ศร.๑-๒๑๓ หมู่ ๒ อื่นๆ ศร.๑-๓๓๓ หมู่ ๑๒๐ (๕๗๑๐๗๕๐๐๑๘-๑๙๒๘) ศร.๑-๒๒๕ หมู่ ๑๒๐ (๕๗๑๐๗๕๑๙๓๖-๒๙๒๔) ศร.๑-๒๒๖
อย่าลืมบัตรประจำตัวนิสิต ดูรายละเอียดเพิ่มเติม จากเว็บไซต์ ของฝ่ายวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ตรงต่อเวลา และสถานที่ แต่งกาย ไม่ถูกระเบียบไม่ได้เข้าสอบแน่นอน
ขอให้ นิสิตทุกคนโชคดี !!! ท้ายที่สุด… ขอให้ นิสิตทุกคนโชคดี !!!