กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
ห้องน้ำ/ห้องส้วม/ที่ปัสสาวะ
หลักการจัดการขยะมูลฝอย ขยะติดเชื้อ และขยะอันตราย
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การขนส่งผักและผลไม้.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
1) สุขลักษณะของสถานที่ตั้งและอาคารผลิต 1.1 ที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม 1.2 อาคารผลิต • บริเวณผลิต • พื้น ฝาผนัง และเพดาน • ระบบระบายอากาศและแสงสว่าง • การป้องกันแมลง.
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
G Garbage.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้เตาเผามูลฝอยเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ ที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
โรคอุจจาระร่วง.
หจก ส.เรืองโรจน์สระบุรี งานบริการขนย้ายมูลฝอยติดเชื้อไปเผาทำลาย
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
การเจริญเติบโตของพืช
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน / บูรณาการ
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ส้วมแห้งหมักมูล บทนำ. เมื่อคุณเริ่มก้าวเข้าสู่ห้องน้ำคุณจะ พบสิ่งต่างดังนี้ มีถังน้ำสำหรับใส่ ขี้เถ้าเพื่อกลบ มูล มีช่องต่อท่อ แยกสำหรับขับ ปัสสาวะออก.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยอันตราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล รวบรวม การเก็บขนถ่าย การกำจัด ทำก๊าซชีวภาพ หมักทำปุ๋ย การเผา การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล

การเก็บรวบรวมมูลฝอย การคัดแยกขยะ

ภาชนะรองรับมูลฝอย

ลักษณะถังรวบรวมมูลฝอยชุมชน 1. มีฝาปิดมิดชิด 2. ทนต่อการกัดกร่อน 3. ไม่มีเหลี่ยมหรือมุมมากนัก 4. มีหูหิ้วและขนาดพอเหมาะต่อการใช้งาน 5. มีฐานรองก้น

การเก็บขนมูลฝอย บุคลากร ยานพาหนะ จำนวนจุดที่ต้องเก็บ รูปแบบการเก็บขน

รถยนต์เก็บขนประเภทธรรมดาเปิดข้าง

รถเก็บมูลฝอยควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ตัวถังบรรจุมูลฝอยควรปกปิดมิดชิด 2. ระดับที่ยกเทมูลฝอยใส่ตัวถังรถไม่ควรสูงมาก 3. มีลักษณะที่ทำความสะอาดได้ง่าย มีมาตรการป้องกันสนิม 4. ระบบการทำงานของรถยนต์ไม่ยุ่งยากซับซ้อน

การเก็บขนมูลฝอย บุคลากร ยานพาหนะ จำนวนจุดที่ต้องเก็บ รูปแบบการเก็บขน

ปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณาความถี่ในการเก็บขนมูลฝอย 1. ลักษณะของมูลฝอย 2. สภาพของอากาศ 3. ขนาดของภาชนะรองรับมูลฝอย 4. กิจกรรมของประชาชน 5. น้ำหนักภาชนะรองรับมูลฝอย

วิธีการกำจัดที่ถูกสุขลักษณะ ไม่ทำให้เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์แมลงพาหะนำโรค ป้องกันการปนเปื้อนแหล่งน้ำทั้งผิวดิน และ ใต้ดิน ไม่เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดเหตุรำคาญ ไม่ก่อให้เกิดทัศนะอุจาด

การกำจัด การเผาในเตาเผา การหมักทำปุ๋ย การฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล

การกำจัดมูลฝอยด้วยวิธีการ ฝังกลบขยะ (Sanitary landfill) ชั้นดินกลบ ขยะบดอัด รองพื้นด้วย พลาสติกชนิด พิเศษหรือดินเหนียว ชั้นรองรับน้ำเสีย >> นำไปบำบัด

สถานที่ฝังกลบ 1. มีระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากการฝังกลบ 2. การป้องกันมูลฝอยปลิว เช่น ติดตั้งรั้วตาข่ายด้านท้ายลม 3. การป้องกันกลิ่นรบกวน โดยการกลบมูลฝอยแต่ละวันให้มิดชิด ปลูกต้นไม้ในแนวที่ทิศทางลมพัดผ่าน 4. การระบายก๊าซจากการฝังกลบมูลฝอย 5. การควบคุมน้ำเสียที่ออกจากกองมูลฝอย โดยปูวัสดุกันซึมหรือใช้ดินเหนียวบดอัด

บริหารจัดการเรื่องการกำจัดมูลฝอย 1 2 3 กำจัด การเอง มอบให้ หน่วยงานอื่นกำจัด จ้างเอกชนนำไปกำจัด