กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล รวบรวม การเก็บขนถ่าย การกำจัด ทำก๊าซชีวภาพ หมักทำปุ๋ย การเผา การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
การเก็บรวบรวมมูลฝอย การคัดแยกขยะ
ภาชนะรองรับมูลฝอย
ลักษณะถังรวบรวมมูลฝอยชุมชน 1. มีฝาปิดมิดชิด 2. ทนต่อการกัดกร่อน 3. ไม่มีเหลี่ยมหรือมุมมากนัก 4. มีหูหิ้วและขนาดพอเหมาะต่อการใช้งาน 5. มีฐานรองก้น
การเก็บขนมูลฝอย บุคลากร ยานพาหนะ จำนวนจุดที่ต้องเก็บ รูปแบบการเก็บขน
รถยนต์เก็บขนประเภทธรรมดาเปิดข้าง
รถเก็บมูลฝอยควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ตัวถังบรรจุมูลฝอยควรปกปิดมิดชิด 2. ระดับที่ยกเทมูลฝอยใส่ตัวถังรถไม่ควรสูงมาก 3. มีลักษณะที่ทำความสะอาดได้ง่าย มีมาตรการป้องกันสนิม 4. ระบบการทำงานของรถยนต์ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
การเก็บขนมูลฝอย บุคลากร ยานพาหนะ จำนวนจุดที่ต้องเก็บ รูปแบบการเก็บขน
ปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณาความถี่ในการเก็บขนมูลฝอย 1. ลักษณะของมูลฝอย 2. สภาพของอากาศ 3. ขนาดของภาชนะรองรับมูลฝอย 4. กิจกรรมของประชาชน 5. น้ำหนักภาชนะรองรับมูลฝอย
วิธีการกำจัดที่ถูกสุขลักษณะ ไม่ทำให้เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์แมลงพาหะนำโรค ป้องกันการปนเปื้อนแหล่งน้ำทั้งผิวดิน และ ใต้ดิน ไม่เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดเหตุรำคาญ ไม่ก่อให้เกิดทัศนะอุจาด
การกำจัด การเผาในเตาเผา การหมักทำปุ๋ย การฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล
การกำจัดมูลฝอยด้วยวิธีการ ฝังกลบขยะ (Sanitary landfill) ชั้นดินกลบ ขยะบดอัด รองพื้นด้วย พลาสติกชนิด พิเศษหรือดินเหนียว ชั้นรองรับน้ำเสีย >> นำไปบำบัด
สถานที่ฝังกลบ 1. มีระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากการฝังกลบ 2. การป้องกันมูลฝอยปลิว เช่น ติดตั้งรั้วตาข่ายด้านท้ายลม 3. การป้องกันกลิ่นรบกวน โดยการกลบมูลฝอยแต่ละวันให้มิดชิด ปลูกต้นไม้ในแนวที่ทิศทางลมพัดผ่าน 4. การระบายก๊าซจากการฝังกลบมูลฝอย 5. การควบคุมน้ำเสียที่ออกจากกองมูลฝอย โดยปูวัสดุกันซึมหรือใช้ดินเหนียวบดอัด
บริหารจัดการเรื่องการกำจัดมูลฝอย 1 2 3 กำจัด การเอง มอบให้ หน่วยงานอื่นกำจัด จ้างเอกชนนำไปกำจัด