การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
จัดทำโดย นายพงศธร มีสรรพวงศ์ เลขที 8 ชั้น ม.4/5
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
เศษส่วน.
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ด.ญ. เปรมศิณี แร่มี เลขที่ 14
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
เกม ( game).
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวน โรงเรียนบุรพรัตน์วิทยาคาร
ด.ญ. ยุพิน จันทร์หอม ด.ญ. นริศรา โภคา
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
กลุ่มgirls’generation
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
วิชา…เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
ปัญหา : มีนักโทษ 13 คน มีเครื่องหมายประจำตัวตั้งแต่ A-M ถูกตัดสินประหารชีวิต แต่พอถึงเวลาประหาร มี 1 คนที่ได้รับการอภัยโทษเป็นกรณีพิเศษ โดยใช้วิธีขานเลข.
ปัญหา คิดสนุก.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
จัดทำโดย ด. ช. ต่อสักดิ์ ถาน้อย ม.1/4 เลขที่ 9 ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน ม.1/4 เลขที่ 8 ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
จัดทำโดย เด็กหญิง ปณิดา อุตสาสาร เลขที่ 6 เด็กหญิง ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
Wattanapong suttapak SE, ICT University of Phayao.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ด.ญ. นีนนารา พรมรักษา ม. 1/8 เลขที่ 16 โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ จัดทำโดย เด็กหญิง กนกวรรณ สิงห์โตวะนา ชั้น ม.2/11 เลขที่ 5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน Next to

ปัญหา: เติมตัวเลข 9-15 ลงในช่องว่างวงกลมโดยใช้ตัวเลขช่องละ 1 ตัวไม่ซ้ำกันและให้ผลรวมตัวเลขทั้ง 3 ตัว ในแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมและบนเส้นเชื่อมตรงกลางเท่ากับ 36 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียด ข้อมูลที่กำหนดให้ : จำนวน 7 จำนวน ได้แก่ 9,10,11,12,13,14และ15 สิ่งที่ต้องการ : ใช้ตัวเลขช่องละ 1 ตัวไม่ซ้ำกัน และให้ผลรวมตัวเลขทั้ง 3 ตัว ในแต่ละมุม ของรูปสามเหลี่ยมและบนเส้นเชื่อมตรงกลาง เท่ากัน ขั้นตอนที่ 1 Next to

การวางแผนในการแก้ปัญหา 2 การวางแผนในการแก้ปัญหา 2.1 หาตัวเลขที่อยู่กึ่งกลางระหว่าง 9-15 แล้วนำไป ไว้ช่องตรงกลางเพื่อให้คิดได้ง่ายมากยิ่งขึ้น 2.2 นำตัวเลขที่เหลือมาจับคู่กันแล้วบวกด้วยตัวเลข ตรงกลางเพื่อให้ผลรวมของแต่ละมุมและแต่ละ เส้นเชื่อมเท่ากัน 2.3 ผลรวมของตัวเลขทั้ง 3 ตัว ในแต่ละมุมและแต่ละ เส้นเชื่อมคือ ผลลัพธ์ที่ได้จากข้อ2.2 ขั้นตอนที่ 2 Back Next to

การดำเนินการแก้ไขปัญหา 3 การดำเนินการแก้ไขปัญหา 3.1 ตัวเลขกึ่งกลางระหว่างเลข 9-15 คือ 12 แล้วนำ 12 ไปเติมช่องตรงกลางเพื่อให้คิดได้ง่ายมากขึ้น 3.2 ตัวเลขที่เหลือคือ 9,10,11,13,14และ15 นำมา จับคู่ ก็จะได้ 13กับ11,14กับ10 และ 9กับ15 และ นำจำนวนแต่ละคู่ไปบวกกับ 12 แล้วจะพบว่า จำนวนทั้ง 3 จำนวนมีผลรวมเท่ากัน แล้วนำไป ใส่ช่องวงกลมแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมและ แต่ละเส้นเชื่อม 3.3 ผลรวมของเลขทั้ง 3 ตัว ในแต่ละมุมบนรูป สามเหลี่ยมและบนเส้นเชื่อมคือ 36 ขั้นตอนที่ 3 Back Next to

การแก้ไขปัญหาดังกล่าว สามารถมีวิธีแก้ไขได้ทั้งหมด 6 แบบ แบบที่ 1 Back Next to

แบบที่ 2 แบบที่ 3 แบบที่ 4 Back Next to

แบบที่ 5 แบบที่ 6 Back Next to

การตรวจสอบและปรับปรุง เมื่อพิจารณาผลรวมของตัวเลขทั้ง 3 ตัวในแต่ละ มุมของรูปสามเหลี่ยมและบนเส้นเชื่อม พบว่า ตัวเลขแต่ ละช่องเมื่อนำมาบวกกันทั้งในแต่ละมุมของรูป สามเหลี่ยมและบนเส้นเชื่อม จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 36 ดังนั้นคำตอบจึงเป็นคำตอบที่ถูกต้อง ขั้นตอนที่ 4 Back Next to

THE END Back