Tokyo Bangkok Taipei Yangon Kunming Frankfurt Chittagong Chiang Mai Luang Prabang Hong Kong Vientiane ศักยภาพจังหวัดเชียงใหม่ เป็นศูนย์กลางการบินใน ภูมิภาค เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อน บ้าน แหล่งรวมอารยธรรมล้านนา และคนมี sweet mine มีความพร้อมด้านบริการ สุขภาพ(การแพทย์ ทันตก รรม สปา นวดไทย และ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
กฎระเบียบ, การตลาดทุกด้าน มาตรฐาน HA & ISO กลยุทธ์ โครงสร้าง การแข่งขัน ปัจจัย สนับสนุน สภาวะ อุปสงค์ Regional Medical Hub อุตสาหกรรม/ บริการที่ เกี่ยวเนื่องและสนับสนุน แพทย์ 700 คน ทันตแพทย์ 250 คน เครื่องมือแพทย์ที่ดี ศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ เมืองน่าอยู่ ธรรมชาติสมบูรณ์ วัฒนธรรม l สถาบันการศึกษาชั้นนำ ด้านสุขภาพและด้านภาษา l โรงแรม รีสอร์ท l บริษัทท่องเที่ยว World Health Service Centre การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน ของ Medical Service เชียงใหม่ ยุทธศาสตร์ ภาคเหนือ อุปสงค์ตลาด ต่างประเทศ ชาวต่างชาติ ที่มาใช้บริการทาง การแพทย์มี 50,000 คน/ปี 120 ล้านบาท/ปี ชาวต่างชาติ ที่มาใช้บริการทัน ตกรรม ประมาณ 40,000 คน/ปี 60 ล้านบาท/ปี รพ.รัฐในเมือง 2 แห่ง ร.พ.เอกชน 14 แห่ง คลินิกทันตกรรม 76 แห่ง
Leader SPA &นวดไทย เป็นยุทธศาสตร์ของประเทศ/ภาคเหนือ สมาคมสปาไทย/เชียงใหม่ กำหนดมาตรฐานสปา ททท, DEP สนับสนุน โครงการพัฒนาเชียงใหม่เป็น Air Hub กลยุทธ์โครงสร้างและการแข่งขัน สภาวะ ปัจจัยสนับสนุน สภาวะ อุปสงค์ อุตสาหกรรม/ บริการที่ เกี่ยวเนื่องและสนับสนุน เป็นเมืองท่องเที่ยว สปา 30 แห่ง นวดไทย 150 แห่ง ความพร้อมของ บุคลากร วัฒนธรรมล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพร การนวด l อุตสาหกรรมที่ผลิต Aroma Accessories l ธุรกิจท่องเที่ยวอื่น ๆ l โรงแรม / Long stay l สมุนไพร l ศูนย์ออกแบบผลิตภัณท์(CDSC) การวิเคราะห์ความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ของธุรกิจสปาและนวดแผนไทย ในจังหวัดเชียงใหม่ ความพร้อมของ สถาบันการศึกษา ตลาดต่างประเทศ 3.3 ล้านคนปี ชาวต่างชาติ 80% มูลค่าตลาด 5 พันล้านบาท ตลาดเชียงใหม่ สปา 100,000 คน/ปี นวดไทย 2,000,000 คน/ปี ชาวต่างชาติ70% มูลค่าตลาด 113 ล้านบาท/ปี
- แผน 8, นโยบายรัฐบาล, พรบ.ประกอบโรคศิลป์ปี มาตรฐาน GAP, GMP, HACCP, ORGANIC Thailand, IFORM, อย. กลยุทธ์ โครงสร้าง การแข่งขัน ปัจจัย สนับสนุน สภาวะ อุปสงค์ Organic Products อุตสาหกรรม/ บริการที่ เกี่ยวเนื่องและสนับสนุน สมาคมสมุนไพรแห่งประเทศไทย l ชมรมผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพ l สถาบันการศึกษา, วัด, โรงพยาบาล l หน่วยงานรัฐ : กรมการแพทย์แผนไทย, DIP, DEP และ ททท. l ภาคเอกชน : SPA, ทัวร์ l NGOs : อิ่มบุญ, สมัชชาสุขภาพ,World Concern World Health Service Centre การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน ของ Health Product เชียงใหม่ ยุทธศาสตร์ ภาคเหนือ ตลาดภายในปท./ต่างปท. ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ ผึ้ง และผลิต 1000 ล้าน บาท สาหร่าย 100 ล้านบาท ชา กาแฟ 100 ล้านบาท น้ำมันหอมระเหย และ เครื่องสำอาง 50 ล้าน บาท ตลาดต่างประเทศ ร้อย ละ 30 กลุ่มผู้ประกอบการ -ผึ้ง และผลิต 750 ราย -สาหร่าย 4 ราย -ชา กาแฟ 15 ราย -น้ำมันหอมระเหย และเครื่องสำอาง 10 ราย – สภาพภูมิประเทศเอื้ออำนวย – วัตถุดิบหลากหลาย & คุณภาพ องค์ความรู้/ภูมิปัญญา ท้องถิ่น วิถีชีวิตและวัฒนาธรรม - ความต้องการของตลาด เพิ่มขึ้น หน่วยงานภาครัฐสนับสนุน มีเครือข่ายหลากหลาย เช่น กลุ่ม แพทย์พื้นบ้านล้านนา 98 ชมรม กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและ สมุนไพร
ธุรกิจสุขภาพ จังหวัด เชียงใหม่ Health product Health service Medical and Dental service Clustering Innovation Standard Champion Product Marketing เพิ่มการ ลงทุน Exhibition สนับสนุนความเข็มแข็ง ของเครือข่าย ผู้ประกอบการ ควบคุม มาตรฐาน และ ศูนย์ข้อมูล พัฒนาศักยภาพ+ R & D การตลาด เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่าย ธุรกิจ กรอบแนวคิดการพัฒนา
ภาพรวมระบบการพัฒนาธุรกิจสุขภาพ Medical Service Health Service Health Products HerbSPA มาตรฐาน อัตลักษณ์ Lanna SPA Product SPA/Health Equipment บุคลากร นวดไทย Health & Medical Hub อาหาร เสริม มาตรฐาน สมาคม TLSPA+ มช. รพ.รัฐ/เอกชน คลินิกทันตกรรม สินค้าทาง การแพทย์ HA,ISO มช. โครงการฯ พรบ. Lab/ อย. GAP, GMP HACCP วิจัย,พัฒนาบุลากร, เครื่องมือ สัมนาแพทยเพื่อนบ้าน มาตรฐาน บุคลากร มช. โครงการฯ Herb เอกชน Trader ชุมชน โรงงาน วัตถุดิบ วิจัยเสริม แพทย์&ทันตแพทย์
กรอบแนวคิดแผนงานการปฏิบัติงานของธุรกิจสุขภาพ ปี 2547 มูลค่าธุรกิจ สุขภาพ ณ 30 ก.ย. 46 2,430 ล้านบาท มูลค่าธุรกิจสุขภาพ (ต.ค. 46 – มี.ค.47) จำนวน 1,693 ล้านบาท มูลค่าธุรกิจสุขภาพ ปี ,916 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 20.0 % การเผยแพร่ ประชาสัมพัน ธ์ Web site Medical directory สมาคม ธุรกิจ สุขภาพ ชมรม รพ.เอกชน ชมรม รพ.เอกชน ชมรม นวดไทย ชมรม นวดไทย ผู้ประกอบการ สมุนไพร ผู้ประกอบการ สมุนไพร ชมรม สปา ชมรม ทันตแพทย์ ชมรม ทันตแพทย์ - ททท. หอการค้า - ศูนย์ส่งเสริมการ ส่งออก - การบินไทย - สำนักพัฒนฯ ภาคเหนือ - คณะวิจิตรศิลป์ มช. - คณะพยาบาล มช. - สสจ.ชม. -มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ Road Show ขยายตลาด สร้างอัตตลักษณ์ นวด/สปาล้านนา ควบคุมมาตรฐาน บริการและผลิตภัณฑ์ เพิ่มศักยภาพ ผู้ประกอบการด้าน บริการและบุคคล - สำนักพัฒนาฯ ภาคเหนือ - มช.และส่วนราชการ - สมาคมธุรกิจสุขภาพ - สภาอุตสาหกรรม สร้างเครือข่าย นานาชาติ คณะแพทย์ มช. คณะทันตแพทย์ มช. มช. ม..แม่โจ้ R & D และศึกษา Demand Size KPI
ผลการดำเนินงานธุรกิจสุขภาพ (ตุลาคม 46 - มีนาคม 47) ประเภทธุรกิจสุขภาพ รายได้ระหว่าง เป้าหมายปี 2547 ต.ค. 46 – มี.ค. 47 (ล้านบาท) ล้านบาท ร้อยละ หมายเหตุ : รายได้นวดไทย และสมุนไพรเป็นยอดรวมทั้งจากภายใน และต่างประเทศ โรงพยาบาล ทันตกรรม สปา นวดไทย สมุนไพร1, ,800 รวม1, ของ KPI 2,916 (120 % ของปี 2546)
โครงการเพื่อการพัฒนามาตรฐานการบริการ และ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 1.การกำหนดมาตรฐานและคุณภาพบริการ ทางทันตกรรม 250, การพัฒนาอัตตลักษณ์นวด และล้านนาสปา380, มาตรฐาน HA และ ISO โรงพยาบาลเอกชน848, การรับประกันคุณภาพลูกประคบ และสมุนไพร546, การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการชันสูตรใน รพ.เอกชนและสถานบริการทันตกรรมเอกชน914, การสนับสนุนการผลิตการสกัดและแปรรูป สมุนไพรน้ำมันหอมระเหย 1,149,620.-
โครงการขยายตลาด และเจรจาธุรกิจ 1.การจัดงานแสดงสินค้า และเจรจาธุรกิจ 600, การสัมมนาเพื่อเพิ่มศักยภาพและความร่วมมือ ทางการแพทย์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์1,300, การพัฒนาระบบสารสนเทศของสมาคมฯ 200, คณะผู้ประกอบการสินค้าธุรกิจบริการและ สุขภาพความงามในภาคเหนือไปขยายตลาด ตะวันออกกลาง/เอเชีย450,000.-
โรงพยาบาลเอกชน บริการทันตกรรม สปา นวดไทย สมุนไพรแปรรูป 1,500 1,800 2,100 รวม 2,430 2,916 3,330 ผู้ประกอบการ ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) เป้าหมายการนำเงินตราจากต่างประเทศ นวดไทยและสมุนไพร เป็นรายได้รวมทั้งภายในและต่างประเทศ