การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
เรื่อง ความพึงพอใจของสถานศึกษาต่อ คุณสมบัติที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จ การศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ ชื่อผู้วิจัย นางสาว เยาวลักษณ์ ดีเหลือ.
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นายไพบูลย์ ว่องวารี
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.

ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่ จังหวัดสมุทรสาคร ผู้วิจัย : ปะนัดดา สุ่มมาตร สังกัด : โรงเรียนฐานเทคโนโลยี จ. สมุทรสาคร Email : srelang@hotmail.com

ปัญหาของการวิจัย การทำงานในยุคปัจจุบัน จำเป็นต้องอาศัยความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงานจริงซึ่งถือว่ามีความสำคัญไม่น้อยกว่าการสร้างกระบวนการเรียนรู้ในชั้นเรียน ผู้ที่มีบทบาทมากที่สุดที่จะทำให้นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ ทักษะในวิชาชีพ ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้ ก็คือ อาจารย์ผู้สอน ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ตระหนักถึงความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับปรุงพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของแผนกการบัญชีขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสมรรถภาพที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ(ปวส.)สาขาวิชาการบัญชี ใน 3 ด้าน คือ (1) ด้านความรู้ (2) ด้านทักษะ และ (3) ด้านคุณลักษณะ 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของสถานประกอบการในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาครต่อสมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาการบัญชีจำแนกตามขนาดของสถานประกอบการ

กรอบแนวคิดการวิจัย 1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะ 3. ด้านคุณลักษณะ   ขนาดของสถานประกอบการ สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษา รวม 3 ด้าน ขนาดใหญ่ 1. ด้านความรู้ 2. ขนาดกลาง 2. ด้านทักษะ 3. ขนาดเล็ก 3. ด้านคุณลักษณะ

วิธีการวิจัย 1. ประชากร ได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีหรือหัวหน้าฝ่ายบัญชีของ สถานประกอบการ จำนวน 90 แห่ง ๆ ละ 1 คน รวม 90 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีหรือหัวหน้าฝ่ายบัญชีของสถานประกอบการ ที่เป็นผู้ตอบแบบสอบถามในนามของสถานประกอบการ ในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 50 แห่ง ๆ ละ 1 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1. สอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2. สอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกศา

เครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจัดส่งแบบสอบถามให้กับสถานประกอบการ โดยผ่านทางนักศึกษาฝึกงานในระดับ ปวส.แผนกการบัญชี และผู้วิจัยดำเนินการติดตามและขอรับแบบสอบถามกลับด้วยตนเอง 5. สถิติในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้ความถี่และร้อยละ วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ (ปวส.) สาขาวิชาการบัญชี ตามความคิดเห็นของสถานประกอบการในจังหวัดสมุทรสาคร วิเคราะห์โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) โดยทำเป็นรายข้อ รายด้าน และรวมทุกด้าน 

สมรรถนะที่เป็นจริง ของผู้สำเร็จการศึกษา ผลการวิจัย สมรรถนะที่เป็นจริง ของผู้สำเร็จการศึกษา N=50 ระดับสมรรถนะ อันดับ S ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านคุณลักษณะ 3.35 0.69 ปานกลาง 2 3.57 0.73 มาก 1 3.25 0.71 3 รวม 3.39 0.64 -

สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษา ตารางแสดง การเปรียบเทียบความคิดเห็นของสถานประกอบการต่อสมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษา สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษา ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก F S 1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะ 3. ด้านคุณลักษณะ 3.54 3.51 3.80 0.87 0.88 0.78 3.18 3.08 3.31 0.54 0.58 0.68 3.47 3.22 3.89 0.51 0.55 0.40 2.54 3.14 5.8 รวมเฉลี่ย 3.62 0.79 3.20 3.53 0.44 4.33

สรุปผลการวิจัย จากตารางพบว่า สถานประกอบการในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาครมีความคิดเห็นว่าระดับสมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ(ปวส.) สาขาวิชาการบัญชี ในสถานประประกอบการ ในภาพรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า สถานประกอบการในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาครขนาดใหญ่ กลาง เล็ก มีความคิดเห็นต่อสมรรถนะที่เป็นจริง ด้านความรู้ ไม่แตกต่างกัน โดยด้านทักษะแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และด้านคุณลักษณะ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05

การอภิปรายผล วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 การอภิปรายผล วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ด้านความรู้ ไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะความรู้สามารถที่จะศึกษาเพิ่มเติมได้ในอนาคตทั้งจากสถานประกอบการเองและจากสื่ออื่น ๆ ได้ ด้านทักษะ แตกต่างกันทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่ามีโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อทำบัญชีมากขึ้น ด้านคุณลักษณะ แตกต่างกัน ทั้งนี้สถานประกอบการที่มีขนาดแตกต่างกันมีโอกาสคัดเลือกพนักงานที่แตกต่างกันตลอดจน ทำเลที่ตั้งของแต่ละแห่งของสถานประกอบการ จำเป็นที่ต้องรับพนักงานที่เป็นคนในแต่ละพื้นที่ด้วย