ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง : สิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางสังคม และการปกครองโดยหลักนิติธรรม จัดโดย สถาบันเพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย และ ศูนย์สันติภาพและความขัดแย้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Advertisements

นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
จุดประกายความคิด การขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
จังหวะก้าวงานสร้างสุข ๓ ปี
นโยบายด้านบริหาร.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
โครงการอบรมพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมอนามัย เพื่อการขับเคลื่อนกลยุทธ์ “ การสร้างการมีส่วนร่วมและขีด ความสามารถของภาคีเครือข่าย ” เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก โครงการพัฒนาศักยภาพนักสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ แบบมีส่วนร่วมและพัฒนาสังคมสุขภาวะ (นนส.) ปี 2557-2559 ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก สำนักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ มูลนิธิเครือข่าย หมออนามัย สถาบันพระบรม ราชชนก

กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างสังคมสุขภาวะ ผ่านการดำเนินงานภายใต้ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ กลไกรองรับการทำงานของ คสช. (1) การสร้าง & การจัดการความรู้ (2) กระบวนการพัฒนา HPP/HIA อย่างมีส่วนร่วม (5) เกิด สุขภาวะเพิ่มขึ้น การสื่อสารสาธารณะ(3) การยอมรับ &ปฏิบัติโดยภาคส่วนต่าง ๆ พัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะผ่านสมัชชาสุขภาพ (4) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ (6)

วัตถุประสงค์ ๑. พัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ๒. สร้างและจัดการความรู้เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม

แหล่งที่มากลุ่มเป้าหมาย กลุ่ม 1 แกนนำกลไก PHPP จังหวัด 15 x 3 คน ( 45 คน ) กลุ่ม 2 แกนนำเครือข่ายเฉพาะ : เครือข่ายธรรมนูญฯ เครือข่าย CHIA และเครือข่าย NHA ( 5 คน ) กลุ่ม 3 แกนนำภาคีความร่วมมือ และบุคลากร สช.( 4 คน ) รวม 54 คน

เกณฑ์การคัดเลือก คุณสมบัติ - ได้รับการเสนอชื่อ /เข้าร่วมในนามองค์กร คุณสมบัติ - ได้รับการเสนอชื่อ /เข้าร่วมในนามองค์กร - มีประสบการณ์เกี่ยวกับ PHPP - มุ่งมั่นทำงานเพื่อสาธารณะ มีทัศนคติ ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม - สมัครใจและสามารถเข้าร่วมได้ตลอดโครงการฯ คำนึงถึง - ความสมดุลใน 3 ภาคส่วน - การกระจายในภูมิภาคต่าง ๆ - การประกอบทีมจังหวัด

เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ มุ่งเสริมพลัง(Empowerment)และพัฒนาศักยภาพ(Capacity building) แกนนำในกลไกสมัชชาสุขภาพจังหวัด(PHA) และแกนเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถกลับไปทำหน้าที่เป็นทีมทำงานหลัก ในกระบวนการ พัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในจังหวัด/ พื้นที่/ประเด็น ของตน

ขอบเขตเนื้อหาสาระ มุ่งเน้นที่กระบวนการ PHPP ผ่านเครื่องมือสำคัญตาม พรบ.สุขภาพฯ โดยครอบคลุมสาระใน 3 ลักษณะ คือ 1. วิธีคิดและทัศนคติ (Attitude) เกี่ยวกับ PHPP 2. ความรู้ (Knowledge) เกี่ยวกับ PHPP และเครื่องมือตาม พรบ. สุขภาพฯ รวมถึงเครื่องมืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. การฝึกปฏิบัติ (Practice) เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะหลักของการ เป็นนักสานพลังฯ

กระบวนการพัฒนาศักยภาพ รู้จักตัวตน ค้นหาศักยภาพ/ กระบวนทัศน์ / แนวคิด PHPP เรียนรู้ทักษะ Policy Fa. (ลงพื้นที่กรณีศึกษา) ถอดบทเรียนตัวเอง /เครือข่ายนักสานพลัง สรุปบทเรียน / ปิดโปรแกรมฯ CM4 CM3 CM2 CM1 การขับเคลื่อน PHA / การเรียนรู้ใน NHA Care & Share & Learn บนเส้นทางความสัมพันธ์แบบเครือข่าย

แผนการดำเนินงาน หน่วยพัฒนาศักยภาพแกน( Core Module ) 4 ครั้งๆ ละ 4 วัน แผนดำเนินการ CM1 25-28 มิย.57 CM2 20-23 สค.57 CM3 22-25 ตค.57 CM4 18-22 กพ.58 Extra CM เรียนรู้ใน NHA’57

เงื่อนไขผ่านเกณฑ์ได้รับเกียรติบัตร เข้าร่วมหน่วยพัฒนาศักยภาพแกน(Core Module) อย่างน้อย 3 ใน 4 (ขาดได้ครั้งเดียว) ส่งการบ้านครบ (ส่งภายใน CM4) ประกอบด้วย 1) บันทึกการเรียนรู้ คนละ 1 ชิ้น 2)สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านหนังสือ คนละ 1 ชิ้น 3) งานกลุ่ม สกัดความรู้สำคัญ กลุ่มละ 1 เรื่อง อื่น ๆ เช่น มีความกระตือรือร้นในการแลกเปลี่ยน แบ่งปัน

ขอบคุณ...