“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ดำเนินชีวิตตามรอยพ่อพาครอบครัวอยู่สบาย 1.อธิบายหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกต้อง 2.นำหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ฟังเพลง“ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา”
พระราชดำรัสฯ ทรงขอให้ทุกคนในชาติมี “ความรัก-ความสามัคคี” ๔ ประการ ประการที่๑ คือการที่ทุกคนคิด พูด ทำ ด้วยความเมตตา มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกายต่อใจต่อกัน ประการที่๒ คือการที่แต่ละคนต่าง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงานประสานประโยชน์กันให้งานที่ทำ สำเร็จผล ทั้งแก่ตนเอง แก่ผู้อื่นและกับประเทศชาติ ประการที่๓ คือการที่ทุกคนประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในความสุจริต ในกฎกติกาและในระเบียบแบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน
ประเทศชาติจะดำรง มั่นคงอยู่ตลอดไป ประการที่๔ คือการที่ต่างคนต่างพยายามทำความคิดความเห็นของตน - ให้ถูกต้องเที่ยงตรงมั่นคงอยู่ในเหตุผล - หากความคิดจิตใจ และการประพฤติปฏิบัติ - ที่ลงรอยเดียวกันในทางที่ดีที่เจริญนี้ ยังพร้อมมูลในกายในใจของคนไทย “ก็มั่นใจได้ว่า” ประเทศชาติจะดำรง มั่นคงอยู่ตลอดไป
มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี หลักการ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสายกลาง พอเพียง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี มีเหตุผล เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปัญญา นำสู่ สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
จากปรัชญาสู่การดำเนินชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียง วิถีชีวิตไทย ยึดเส้นทางสายกลางของความพอดี โดยมีวิถีชีวิตไทย วิถีชีวิตไทย ยึดเส้นทางสายกลางของความพอดี ใช้ธรรมะ เป็นเครื่องกำกับและใจตนเป็นที่สำคัญ เศรษฐกิจพอเพียง คือ วิถีแห่งการดำรงชีพที่สมบูรณ์และศานติสุข
ผลของ " ความพอเพียง" 2.ความพอประมาณ 1.เดินสายกลาง อย่างมีเหตุผล 2.ความพอประมาณ 1.เดินสายกลาง สู่ความยั่งยืน แนวทางปฏิบัติ เศรษฐกิจพอเพียง 3.ความสมดุล 5.เป็นคนดี 4.สร้างภูมิคุมกัน รู้เท่าทันโลก
พอประมาณ-สมเหตุผล (การประหยัด) ความสมดุล (ลดรายจ่าย- เพิ่มรายได้) ความสมดุล (ลดรายจ่าย- เพิ่มรายได้) จากปรัชญา สู่ แนวการปฏิบัติ ภูมิคุ้มกัน (การออม)