การเขียนโครงการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Thesis รุ่น 1.
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงการ.
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
สื่อการเรียนการสอน.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
คำแนะนำการจัดทำข้อเสนอโครงการ
การเตรียมข้อเสนอโครงการ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
ยิ้มก่อน ทักก่อน ไหว้ก่อน
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
วิธีการคิดวิเคราะห์.
หลักการเขียนโครงการ.
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การทัศนศึกษา.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ไม่เสี่ยงความยากจน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโครงการ

หลัก 5 W 1 H 5W =1. WHAT 2. WHY 3. WHEN 4. WHERE 5. WHO 1 H = HOW

โครงการ เหตุผลความจำเป็น จะทำอย่างไร ทำเพื่ออะไร ที่ต้องทำ(ปัญหา) (วิธีแก้ปัญหา) ทำเพื่ออะไร (วัตถุประสงค์) โครงการ ทำเท่าไร (เป้าหมาย) ทำที่ไหน เมื่อไร ใครทำ ได้อะไร

การเขียนโครงการ ๑. ชื่อโครงการ ๑. ชัดเจน กระชับ และไม่ยาวเกินไป ๒. เข้าใจง่าย ๓. สื่อถึงกิจกรรม หรือผลลัพธ์หรือเป้าหมาย ๔. ความต้องการหรือปัญหาที่ต้องการแก้ไข ๕. แสดงลักษณะของสิ่งที่จะทำ ๖. นำกลุ่มเป้าหมายมาพิจารณาด้วย ๗. ถ้อยคำกินใจ

การเขียนโครงการ ๒.หลักการและเหตุผล ๑. แสดงปัญหา ความจำเป็น ที่ต้องทำโครงการ เสนอแนวคิด หลักการ ความต้องการ การแก้ปัญหา ๒. ควรนำเสนอสาระสำคัญ (จากกว้างไปสู่ประเด็น) คือ - ความเป็นมา หรือแนวคิด - ปัญหา/ประเด็นความต้องการ - แนวทางแก้ปัญหา/ความจำเป็นของโครงการ ๓. มีทฤษฎี เหตุผล ข้อมูล เพื่อสนับสนุนการจัดทำโครงการ ๔. มีเหตุผลเพียงพอที่จะให้ผู้มีอำนาจอนุมัติ ๕. นำไปสู่ชื่อโครงการ

การเขียนโครงการ ๓.วัตถุประสงค์ ๑. มีได้มากกว่า ๑ ข้อ ๒. ระบุความต้องการที่จะกระทำ ๓. มีลักษณะเป็นเชิงปฏิบัติการ ชี้แนวทางในการปฏิบัติ ๔. ชัดเจน สื่อความต้องการได้ ๕. วัดได้ ประเมินได้ ๖. วัตถุประสงค์ ต้อง “SMART”

การเขียนโครงการ “SMART” ๑. Sensible / Significant / Specific (สำคัญ จำเป็น เด่นชัด) ๒. Measurable (วัดได้-ตรวจสอบได้) ๓. Accessible (ทำ/ปฏิบัติแล้ว บรรลุผลได้จริง) ๔. Reasonable (สมเหตุสมผล ตรงตามหลักการและเหตุผล) ๕. Time (เหมาะสมด้านเวลา และช่วงเวลาที่ปฏิบัติ)

คำที่ควรใช้ในวัตถุประสงค์ เพื่อให้ เพื่อจำแนก เพื่อสร้างเสริม -เพื่อกำหนด -เพื่อแก้ปัญหา ฯลฯ

คำที่ควรหลีกเลี่ยง เพื่อให้เข้าใจ เพื่อให้เกิดความซาบซึ้ง -เพื่อทราบ -เพื่อให้เกิดความสนใจ ฯลฯ

การเขียนโครงการ ๔.วิธีดำเนินการ ๑. นำวัตถุประสงค์มาจำแนกแจกแจง ๒. ระบุงาน (Task) หรือ กิจกรรม (Activity) ที่ชัดเจน ของ โครงการ ๓. กิจกรรมที่กำหนดต้องก่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ของโครง หรือ ทุกวัตถุประสงค์มีกิจกรรมรองรับ ๔. กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ทรัพยากร และบริบท ของโครงการ

การเขียนโครงการ ๕.การกำหนดกิจกรรม ๑. บอกรายละเอียดสิ่งที่จะทำ ๒. โครงการใหญ่ๆ อาจมีหลายกิจกรรม ๓. ทำได้ตามวัตถุประสงค์ ตามเวลา และมีผลกระทบสูง

การเขียนโครงการ ๖. ระยะเวลาดำเนินการ ๑. เหมาะสมกับกิจกรรมโครงการ ๒. กำหนดเป็นช่วงเวลา หรือวันเริ่ม และสุดท้าย

การเขียนโครงการ ๗. แผนปฏิบัติการ ๑. นำขั้นตอนการดำเนินงานมาแจกแจง ๒. กำหนดรายละเอียด - งาน กิจกรรม - การดำเนินงาน - สถานที่ - เวลา - ผู้รับผิดชอบ

๘.งบประมาณและทรัพยากรที่ใช้ การเขียนโครงการ ๘.งบประมาณและทรัพยากรที่ใช้ ๑. จำแนกเป็นตามแหล่งที่มา (งบประมาณ/เงินนอกงบประมาณ) หรือตามประเภทค่าใช้จ่าย (งบลงทุน/งบดำเนินการ) ๒. สอดคล้องกับกิจกรรม ๓. แจกแจงรายละเอียด ๔. ควรศึกษาระเบียบการเงิน พัสดุ ฯลฯ ๕. ใช้หลัก 4E

4E ๑. Economy - ประหยัด ๒. Efficiency - ประสิทธิภาพ ๓. Effectiveness - ประสิทธิผล ๔. Equity - ยุติธรรม

๙.ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ การเขียนโครงการ ๙.ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ผลผลิต OUTPUTS ผลลัพธ์ OUTCOMES ผลสัมฤทธิ์ RESULTS ผลผลิต : เป้าหมายเชิงปริมาณ เป็นผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายของโครงการที่เป็นรูปธรรม ผลลัพธ์ : เป้าหมายเชิงคุณภาพ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับผลผลิต ส่งผลไปสู่การแก้ไขปัญหา/ความต้องการ ผลสัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์

การเขียนโครงการ ๑๐.ผู้รับผิดชอบ ๑. มีเจ้าภาพชัดเจน ๒. คำนึงถึงศักยภาพ ความเหมาะสม ความตั้งใจ ๓. ควรเป็นทีมงาน

๑๒. การประเมิน/ติดตามโครงการ การเขียนโครงการ ๑๒. การประเมิน/ติดตามโครงการ กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของ การประเมิน ระบุวิธีการ/ช่วงเวลา/ผู้รับผิดชอบ

การเขียนโครงการ ๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - ระบุผลที่ต่อเนื่องจากผลลัพธ์ (Outcome) ที่กลุ่มเป้าหมายหรือส่วนรวมได้รับประโยชน์ - ผลมีทั้งทางตรง ทางอ้อม และผลกระทบ ๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สรุปโครงการที่ดี ๑. ตอบสนองความต้องการ ๒. วัตถุประสงค์ เป้าหมายชัดเจน ๓. รายละเอียดของโครงการสอดคล้องกัน ๔. นำไปปฏิบัติได้ ๕. เข้าใจง่าย ดำเนินการได้สะดวก ๖. ติดตามประเมินผลได้ ๗. เกิดขึ้นจากข้อมูลจริง ๘. มีแผนปฏิบัติการชัดเจน ๙. ประหยัด ๑๐. ได้ผลคุ้มค่า

สวัสดี