วัณโรค : A chronic infectious disease

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
จตุพร ภูทองปิด พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ สังกัดสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ที่ 9 พิษณุโลก กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ไข้เลือดออก.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลมหาสารคาม
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัณโรค : A chronic infectious disease น.พ. เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค

จังหวัดจะควบคุมวัณโรคอย่างไร ให้ได้ผล ต้องเห็นว่า วัณโรคเป็นปัญหาเสียก่อน ทั้งผู้ปฏิบัติและผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ละเลยเมื่อไหร่ จะกลับมาทันที และวัณโรคดื้อยา/ผู้สูงอายุ/ต่างด้าว มาแรง ต้องมีแผนรองรับ – ยุทธศาสตร์ -> ปฏิบัติการ (บูรณาการกิจกรรมได้ แต่อย่าลืมวัณโรคเด็ดขาด) ต้องมีระบบข้อมูล การติดตามประเมินผล อย่างสม่ำเสมอ DOT ต้องเข้มข้น เพื่อ ค้นให้พบ จบด้วยหาย ตายน้อยกว่าร้อยละ 5 ขาดยาเป็น 0

U-SHAPE CURVE OF CONCERN ON TB : เมื่อให้ความสำคัญงานวัณโรคน้อยลง ไ ม่ช้าวัณโรคก็กลับมา ช่วงก่อนปี 1990 สหรัฐฯ เห็นว่า สามารถควบคุมวัณโรคได้ดีแล้ว ได้ลดงบประมาณด้านวัณโรค จัดสรรงบประมาณไปควบคุมโรคอื่น เพียงเวลาไม่นาน จำนวนวัณโรคก็กลับเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับช่วงปี 1990 มีปัญหาการระบาดของ HIV ด้วย ทำให้สหรัฐฯ ต้องกลับมาทุ่มเทความพยายามและงบประมาณควบคุมวัณโรคเพิ่มขึ้นเหมือนเดิม จึงลดโรคได้ต่อเนื่องอีกครั้ง ส่วนที่แรเงาคือผลของการละเลยปัญหาวัณโรคและปรับลดงบประมาณไปนั่นเอง

งบประมาณการควบคุมวัณโรครัฐบาลสหรัฐ

สถานการณ์วัณโรคโลก

สถิติมีไว้ทำลาย เป้าหมายมีไว้พุ่งชน วัณโรค – ติดต่อจากคนสู่คน กลุ่มคนที่มีการป่วยสูงก็ยิ่งแพร่ให้คนอื่นได้สูง Chain of infection

Active TB TB infection

Active TB TB infection

TB incidence (per 100,000) by WHO region, and in Thailand, 2011 TB incidence in Thailand is 2.5 – 4 times higher than Europe & America regions source: WHO, Global Tuberculosis Report 2012

TB incidence in Thailand and selected high-income countries, 2011 Situation in developed countries demonstrated the possible target and 30 times difference as room for improvement for Thailand. Approx. 30 times Approx. 90 times

ผลเบื้องต้น การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ 2555 (Non-BKK) PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE อาการ และผลเอ็กซเรย์ปอดของผู้ป่วยวัณโรค 5 45 92 Sym+ CXR+ (4%) (32%) (65%) การสำรวจความชุกวัณโรค มีความไวในการค้นหาผู้ป่วยสูงกว่าระบบปกติ เพราะ 1. ใช้คะแนนอาการจากหลายอาการ แม้อาการไม่มาก ก็เข้าข่ายสงสัยได้ และได้ตรวจเสมหะ 2. แม้ไม่มีอาการ ถ้าผลเอ็กซเรย์สงสัย ก็ได้ตรวจเสมหะหาวัณโรค จากผู้ป่วยทั้งหมดซึ่งยืนยันด้วยผลเพาะเชื้อจากเสมหะแล้ว 142 ราย เป็นผู้มีอาการ ร้อยละ 35 (4%+32%ปัดเศษทศนิยม) และ ไม่มีอาการร้อยละ 65 [การสำรวจซึ่งมีความไวสูงกว่าระบบวินิจฉัยปกติที่อาจจะคำนึงถึงอาการเป็นหลัก ทำให้พบผู้ป่วยไม่มีอาการในสัดส่วนที่สูง และ แสดงว่า ผู้มีอาการน่าจะเข้าถึงการรักษาได้มากกว่า และรักษาหาย ทำให้สัดส่วนผู้มีอาการน้อยกว่าผู้ไม่มีอาการ] <Animation> จากตัวเลขผู้ป่วยภาพรวม มี Smear+ 41% เมื่อดูจากแผนภูมิแท่ง แยกกลุ่มมีอาการและไม่มีอาการ พบว่า กลุ่มมีอาการ พบ Smear+ 60%, และกลุ่มไม่มีอาการ พบ Smear+ 30% แสดงว่า คนที่มีอาการ มีปริมาณเชื้อในเสมหะมากจนตรวจย้อมพบได้สูง คนที่ไม่มีอาการมีปริมาณเชื้อในเสมหะน้อย ย้อมพบน้อยกว่า <Animation แผนภูมิแท่งแยกกลุ่มอายุ> เมื่อแยกกลุ่มอายุ พบว่า ลักษณะภาพรวมเมื่อสักครู่ปรากฏเฉพาะในกลุ่มอายุต่ำกว่า 60 ปีเท่านั้น ในกลุ่มผู้สูงอายุ (60+) นั้น ทั้งกลุ่มมีอาการและไม่มีอาการ พบ Smear+ สูงไม่แตกต่างกัน ข้อมูลนี้ย้ำความรู้ที่ว่า วัณโรคในผู้สูงอายุอาจไม่ปรากฏอาการชัดเจน

ผลเบื้องต้น การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ 2555 (Non-BKK) PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE อายุของผู้ป่วยวัณโรค (N=142) จำแนกตามเพศ ผู้สูงอายุเป็นวัณโรคกันมาก

ความชุกการป่วยวัณโรคปอดจากการสำรวจ ผลเบื้องต้น การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ 2555 (Non-BKK) ความชุกการป่วยวัณโรคปอดจากการสำรวจ PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE

กลุ่มอายุผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก ใน รง.506 Source: R506: Pulm TB New M+ /2008-2011, BOE

ความชุกวัณโรคที่พบจากการสำรวจระดับชาติ ในประเทศต่าง ๆ Country Year (* Provisional) Smear Positive Bact. Positive Philippines 2007 10y+ 260 (170-360) 660 (510-880) Viet Nam 2007 15y+ 197 (149 -254) 307 (248 -367) Myanmar 2009 242 (186 - 315) 613 (502-748) China 2010 66 (53-79) 119 (103-135) Cambodia 2011* 251 (194-354) 829 (704 – 975) Lao 2010/11* 276(197-354) 610(466-755) Ethiopia 2011 108 (73-143) 277 (208-347) Courtesy slide: Dr Onozaki, WHO

5th National Survey -China 2010 253,000 participants in 176 sites World Health Organization 10 April 2017 5th National Survey -China 2010 253,000 participants in 176 sites Region   Smear positive TB Bacteriological positive Prevalence (1/100000) Change (%) Prevalence (1/100000) 2000 2010 Urban 131 (91,172) 49 (25,74) -62.6 164 (120,208) 73 (46,99) -55.5 Rural 181 (160,202) 78 (64,93) -56.9 232 (211,254) 153 (133,172) -34.1 Eastern 124 (102,147) 44 (30,58) -64.5 163 (138,187) 65 (50,81) -60.1 Middle 217 (176,259) 60 (30,91) -72.4 251 (207,294) 118 (81,154) -53.0 Western 198 (160,236) 105 (80,130) -47.0 278 (240,316) (167,229) -28. 8 Courtesy slide: Dr Onozaki, WHO (China CDC 2011) 

ผลสำรวจวัณโรคดื้อยา 2012 (prelim)

อนาคต ความท้าทาย และความพร้อมของไทยในการเอาชนะปัญหา อนาคต ความท้าทาย และความพร้อมของไทยในการเอาชนะปัญหา สิ่งแวดล้อม เชื้อ โฮสต์ ธรรมชาติของโรค เทคโนโลยีการวินิจฉัย ยา วัคซีน

Challenge when the AEC starts Incidence rate (per 100,000) AEC 2015

ความพร้อมของไทย เพื่อการเอาชนะปัญหา เรียนรู้จากที่ทำสำเร็จ Back to Basic : หลักระบาดวิทยาและควบคุมโรค Source(reservoir), Transmission, Host “การรักษาคือการป้องกัน” การควบคุมวัณโรค ค้นให้พบ (Case finding, case detection) รักษาให้หาย (Treatment) ใช้ DOT ให้เข้ม (Supervision &support for treatment)

การระบาดของ MDR-TB ช่วง 1990 นิวยอร์ค และ รัสเซีย มีการระบาดของ MDR-TB ปัจจัยต่างกัน การแก้ปัญหาต่างกัน ผลสำเร็จต่างกัน

ยุทธศาสตร์ควบคุมวัณโรค 1.ส่งเสริมคุณภาพการดำเนินงานตามแนวทางการควบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2.เร่งรัดดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยา วัณโรคในเรือนจำ และกลุ่มเสี่ยงเฉพาะ 3.เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบสาธารณสุขเพื่อการควบคุมวัณโรค 4.พัฒนาการมีส่วนร่วมของหน่วยบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชน 5.พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ และการมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน 6.ส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาการควบคุมวัณโรค

จุดเน้นงานวัณโรค ค้นให้พบ จบด้วยหาย ตายน้อยกว่าร้อยละ 5 ขาดยาเป็น 0

ความพร้อมของประเทศไทย ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขสนับสนุนนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ - -> แผนปฏิบัติการ/ตัวชี้วัด มาตรฐานการปฏิบัติงานคลินิกวัณโรค ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค ระบบบริการสุขภาพ ระบบประกันสุขภาพ

จากนโยบาย สู่การปฏิบัติ

ตัวชี้วัดหลักการดำเนินงานวัณโรค อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง การตอบสนองเชิงนโยบาย มี Mr.TB /มีผู้รับผิดชอบงานผ่านอบรม การค้นหาและวินิจฉัยผู้ป่วยวัณโรค การรักษาด้วยระบบยาระยะสั้นแบบมีพี่เลี้ยง ยารักษาวัณโรคไม่ขาดแคลนและมีคุณภาพ ทะเบียนและรายงานวัณโรค การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล การผสมผสานงานวัณโรคและโรคเอดส์ ผลการรักษา

ขอบคุณครับ