ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า การคุ้มครองตามหลัก สิทธิมนุษยชน ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายสิทธิมนุษยชน และวิธีคุ้มครองปกป้อง สิทธิมนุษยชนได้
องค์การสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491
ประเทศไทย - 1 ใน 48 ประเทศที่ออกเสียงรับรอง - มีแนวคิดตั้งแต่ต้น - เป็นพันธกรณีต้องปฏิบัติตามข้อ ตกลง
สิทธิมนุษยชน สันติภาพ ในโลก เสรีภาพ ความยุติธรรม
สาระของปฏิญญาสากล 1. เชื่อมั่นในความเท่าเทียมกัน 2. ส่งเสริม เคารพต่อสิทธิมนุษยชน และอิสรภาพขั้นมูลฐาน 3. ระบุสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
สิทธิพื้นฐานที่ได้ปรับปรุง 1. ส่วนบุคคลในครอบครัว 2. ในชีวิตและร่างกาย 3. เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ 4. การรวมกลุ่ม
หน้าที่ของคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน 1. ตรวจสอบและรายงานการละเมิด 2. เสนอและนโยบายและข้อเสนอ ในการปรับปรุงกฎหมาย
3. ส่งเสริมการศึกษาวิจัยเผยแพร่ 4. ส่งเสริมความร่วมมือประสาน งาน กับองค์กรอื่น
5. ประเมินสถานการณ์ในประเทศ และรายงานต่อรัฐสภา 6. อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมาย บัญญัติ
สถาบันที่ให้ความคุ้มครอง 1. สำนักงานคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชน 2. สำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วย เหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
3. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภค 4. สภาทนายความ
การคุ้มครองบุคคลตาม หลักสิทธิมนุษยชน 1. การประกันความบริสุทธิ์ของ บุคคลก่อนศาลพิพากษา 2. การประกันคุณค่าของความเป็น มนุษย์
3. การประกันสิทธิส่วนตัว 4. การประกันเสรีภาพของบุคคล 5. การประกันสิทธิในการศึกษา 6. การลดการทารุณกรรม 7. การลดการสูญเสียบุคคล
8. การจำกัดอำนาจรัฐมิให้ล่วง ละเมิดสิทธิของบุคคล 9. การประกันการสร้างครอบครัว
10. การประกันการใช้และการบำรุง รักษาทรัพยากรธรรมชาติ 11. การประกันมาตรฐานการ ครองชีพขั้นพื้นฐาน