การ Recode ข้อคำถามที่เป็นเชิงลบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำการใช้งานระบบ คลิก เข้าเรียน
Advertisements

ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ตัวอย่าง Flowchart.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การใช้งาน Microsoft Excel
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
โปรแกรม Microsoft Access
Menu Analyze > Correlate
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
Office of information technology
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
การแจกแจงปกติ.
วิธีการใช้แบบประเมินผลสมรรถนะแบบ Hybrid Scale
Computer Programming for Engineers
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
Easy way to Estimate Training Project
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
การลงข้อมูลแผนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
***นำเสนอผลงานวิจัย***
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การวิจัยนิเทศศาตร์FCA2101
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
CLASSROOM ACTION RESEARCH
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การ Recode ข้อคำถามที่เป็นเชิงลบ

จากแบบสอบถาม 5 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้บ่อยมากที่สุด 4 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้บ่อย 3 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้บางครั้ง 2 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้นานครั้ง 1 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้น้อยที่สุดหรือไม่เคยเลย พฤติกรรม (5) (4) (3) (2) (1) 1. ท่านกินขนมในห้องเรียน  2. ท่านพยายามทำแบบฝึกหัดตามอาจารย์ 3. ท่านตั้งใจฟัง 4. ท่านพูดเสียงดัง 5. ท่านจะถามเมื่อมีข้อสงสัย

ขั้นตอนลงข้อมูลของแบบสอบถามที่มีคำถามเชิงลบและบวก เมื่อได้รับแบบสอบถามมา อย่าเพิ่งกลับคะแนน ให้ Key ข้อมูลปกติ ขั้นตอน 1 แล้วค่อยมา Recode การ Recode ไม่จำเป็นต้อง ทำทุกเรื่อง ต้องสมเหตุสมผล การ Recode ให้ทำของคำถามเชิงลบ ขั้นตอน 2 ทำการ Transform หาค่า Sum หาค่า Mean ย่อยก่อน (หากข้อใดมีการ Recode จะเลือกเอาข้อที่ Recode แล้ว) ขั้นตอน 3 ทำการ Analyze หาค่า Mean รวม ,ค่า SD รวม

การ Recode Recode into same variables Recode into different variables

ขั้นตอนที่ 1 Recode 1.1 Transform>Recode>into different variable

1.2 เลือกข้อที่ต้องการเปลี่ยนคือข้อ 1 และข้อ4 เลือกข้อที่ต้องการ กด

1.3 ใส่ Output Variable กด Change 1.4 จะได้ผลดังหน้าจอ

1.6 แก้ไขขัอมูลดังภาพ จากนั้นกด Continue 1.5 คลิกปุ่ม Old and new value จะได้หน้าจอดังภาพ จากนั้นใส่ค่า Old value (ค่าเดิม), New value (ค่าใหม่) กด Add 1.6 แก้ไขขัอมูลดังภาพ จากนั้นกด Continue

1.7 เพิ่มจำนวนข้อที่ต้องการเปลี่ยนให้ครบ ในที่นี้คือ ข้อ 1, 4 (อาจใส่ก่อนให้ครบทุกข้อที่ต้องการ Recode ทีเดียวในขั้นตอน 1.2) จากนั้นเลือก OK

เปรียบเทียบข้อมูลก่อน Recode และหลัง Recode

ขั้นตอนที่ 2 หาค่า Mean ย่อย และ Sum (ซึ่งแล้วแต่กรณี) 2.1 Transform >Compute

2.2 หา Mean ของข้อที่ต้องการเท่านั้นสำหรับข้อที่มีการ Recode ให้เลือกเอาข้อที่มีการ Recode จากนั้นเลือก OK

2.3 จะได้ผลลัพธ์

ขั้นตอนที่ 3 หา X และ SD 3.1 Analyze > Descriptive Statistic > Descriptives

3.2 การหา Mean และ Standard Deviation ข้อ N_Q1, 2,3,N_Q4,5

ผลลัพธ์การหา Mean และ Standard Deviation ข้อ N_Q1, 2,3,N_Q4,5

หากท่านต้องการแปลผลพฤติกรรมของนิสิตโดยรวมทั้งหมดว่า ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ไม่ดี จะต้องทำการ Recode ข้อที่มีความหมายทางลบ เพื่อให้ผลลัพธ์ออกมาสมเหตุผลมากที่สุด ช่วงคะแนน 4.21-5.00 หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนดีมาก 3.41-4.20 หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนดี 2.61-3.40 หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนปานกลาง 1.81-2.60 หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนพอใช้ 1.00-1.80 หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนไม่ดี

สรุปแบบที่ 1 (Recode แล้วนำมาหาค่า) ตาราง n ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมในการเรียน ของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา พฤติกรรมในการเรียน ค่าเฉลี่ย X ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ระดับ 1. ท่านกินขนมในห้องเรียน 4.68 0.47 ดีมาก 2. ท่านพยายามทำแบบฝึกหัดตามอาจารย์ 3.65 0.48 ดี 3. ท่านตั้งใจฟัง 4.32 4. ท่านพูดเสียงดัง 5. ท่านจะถามเมื่อมีข้อสงสัย รวม 4.33 0.19 หมายเหตุ : ข้อ 1 และ ข้อ 4 เป็นคำถามเชิงลบ ที่ได้ทำการปรับคะแนนใหม่แล้ว (Recode) จากตารางที่ n พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการเรียนอยู่ในระดับดีมาก (X = 4.33 , SD = 0.19)

สรุปแบบที่ 2 (Recode แล้วนำมาหาค่า) ตาราง n ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมในการเรียน ของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา ตัวแปร ค่าเฉลี่ย X ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ระดับ พฤติกรรมในการเรียน 4.33 0.1897 ดีมาก จากตารางที่ n พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการเรียนอยู่ในระดับดีมาก (X = 4.33 , SD = 0.19)

แบบที่ 3 (ข้อมูลจริงที่ยังไม่ Recode) บ่อยมากที่สุด บ่อย บางครั้ง นานครั้ง น้อยที่สุด จำนวน ร้อยละ 1. ท่านกินขนมในห้องเรียน 10 20 40 5 2. ท่านพยายามทำแบบฝึกหัดตามอาจารย์ 3. ท่านตั้งใจฟัง 4. ท่านพูดเสียงดัง 5. ท่านจะถามเมื่อมีข้อสงสัย

การส่งงาน การสรุปให้ส่งแบบใดแบบหนึ่ง คือแบบมีรายละเอียด(1) หรือ แบบสรุป(2)เท่านั้น แต่แบบมีรายละเอียดเราจะได้เห็นรายละเอียดด้วย ซึ่งการสรุปทั้ง 2 แบบ สามารถตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์ได้เช่นกัน หากท่านต้องการแจกแจงเป็นความถี่ อีก 1 ตารางก็ได้ (3) หรือท่านจะส่ง โดยแสดงตาราง (2) และ (3) ก็ได้