เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
Advertisements

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การแจกแจงปกติ.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวน โรงเรียนบุรพรัตน์วิทยาคาร
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
โรงเรียน สัตว์. กาลครั้งหนึ่ง พวกเหล่าสัตว์ ทั้งหลายได้ตัดสินใจร่วมกันว่า " เพื่อที่จะให้พวกเราเหล่าสัตว์ทั้งหลาย สามารถติดตามทันกับโลกใหม่ที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เ อกสารประกอบการสอนวิชา Computer Programming for Engineer ดร. นวภัค เอื้ออนันต์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การบวกที่มีผลบวกไม่เกิน 9 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน

ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

กี่ตัวกันแน่

ตัวอย่างที่ 1 เลี้ยงหมูและเป็ดไว้จำนวนหนึ่ง จำนวนเป็ดมากกว่าจำนวนหมูอยู่ 7 ตัว ถ้าขาของหมูและขาของเป็ด

นับรวมกันได้มากกว่า 32 ขาไม่ถึง 44 ขา จงหาว่าเลี้ยงหมูและเป็ดไว้อย่างละกี่ตัว

วิธีที่ 1 (คิดโดยวิธีลองผิดลองถูก) เป็ดมากกว่าหมูอยู่ 7 ตัว อย่างน้อยที่สุด มีหมู 1 ตัว จะมีเป็ด 1 +7 = 8 ตัว

ทดลองหาจำนวนขารวมกัน เมื่อมีหมูตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป

ปรากฏว่า จำนวนขารวมกัน 38 เป็นจำนวนที่มากกว่า 32 แต่ไม่ถึง 44 แสดงว่า เลี้ยงหมู 4 ตัว เลี้ยงเป็ด 11 ตัว

วิธีที่ 2 (คิดโดยวิธีสมมุติตัวไม่ทราบ) ให้หมูมี x ตัว เป็ดมี x+1 ตัว จำนวนขาของหมู = 4x ขา จำนวนขาของเป็ด = = 2x+14 ขา

จำนวนขารวมกัน = 4x+(2x+14) ซึ่งมากกว่า 32 แต่ไม่ถึง 44 32 < 6x+14 < 44 18 < 6x < 30 3 < x < 5

วิธีที่ 2 (คิดโดยวิธีสมมุติตัวไม่ทราบ) x เป็นจำนวนหมูจึงเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 3 น้อยกว่า 5 คือ 4 เลี้ยงหมู4 ตัวเลี้ยงเป็ด4+7=11 ตัว

จำนวนขารวมกัน = 4x+(2x+14) ซึ่งมากกว่า 32 แต่ไม่ถึง 44 32 < 6x+14 < 44 18 < 6x < 30 3 < x < 5

เลี้ยงหมูและเป็ดไว้จำนวนหนึ่ง จำนวนเป็ดน้อยกว่าจำนวนหมูอยู่ 5 ตัว ถ้าจำนวนขาหมูของหมูและเป็ดรวมกันได้ ตัวอย่างที่ 2

มากกว่า 32 ขา แต่ไม่ถึง 44 ขา จงหาว่าเลี้ยงหมูและเป็ดอย่างละกี่ตัว (เลือกวิธีคิดตามที่เห็นว่าเหมาะสม)

วิธีทำ หมูมี x+5 ตัว จำนวนขาเป็ด = 2x ขา จำนวนขาหมู = 4(x+5) ขา

รวมจำนวนขาทั้งหมด 2x+4x+20 = 6x+20 ซึ่งมากกว่า 32 แต่ไม่ถึง 44 32 < 6x+20 < 44 12 < 6x < 24

2 < x < 4 X เป็นจำนวนเต็ม X = 3 เป็ดมี 3 ตัว หมูมี 3+5 = 8 ตัว

ทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ (ต่อ) พบกันใหม่วันอังคาร เรื่อง ทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ (ต่อ)