การเขียนรายงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
การเขียนบทความ.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนรายงานทางวิชาการ รศ. ดร
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
การบันทึกทางธุรกิจ memorandom
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
หนังสืออ้างอิง.
ธุรกิจ จดหมาย.
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการวิจัย
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
การรายงาน การประเมินผลโครงการ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
รายงานการศึกษาค้นคว้า
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รูปแบบรายงาน.
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนรายงาน

การทำรูปเล่มรายงาน ต้องประกอบด้วย 1. หน้าปก 2. บทคัดย่อ 3. คำนำ 4. สารบัญ / สารบาญ 5. เนื้อหา 6. ภาคผนวก 7. บรรณานุกรม

1. หน้าปก จะต้องมี ชื่อเรื่อง ชื่อผู้จัดทำ ชื่อผู้ที่เราจะนำเสนอ 1. หน้าปก จะต้องมี ชื่อเรื่อง ชื่อผู้จัดทำ ชื่อผู้ที่เราจะนำเสนอ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาอะไร ภาคเรียนที่เท่าไร ปีการศึกษาไหน

ตัวอย่างหน้าปกรายงาน เรื่อง ชนิดของคำ โดย เด็กหญิง ณัฐกานต์ สังข์ประดิษฐ์ นำเสนอ ครูแพร จารุจินดา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ตัวอย่างหน้าปกรายงาน

2. บทคัดย่อ (Abstract ) บทคัดย่อต้องมีจำนวนคำไม่เกิน 300 คำ นำเสนอเป็นส่วนหนึ่งของเรียงความ บทตัดย่อไม่ใช่คำนำ แต่นำเสนอในลักษณะภาพรวมทั้งหมดของเรียงความ ดังนั้น จึงต้องเขียนท้ายสุด บทคัดย่อมีไว้เพื่อช่วยให้นักเรียนตรวจสอบพัฒนาการของการโต้แย้งภายในเรียงความตรงประเด็นปัญหาและข้อสรุปใด ๆ ที่กำหนดไว้ นอกจากนั้น ยังช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาของเรียงความได้อย่างรวดเร็ว

บทคัดย่อต้องพิมพ์บนกระดาษหน้าเดียว อยู่ต่อจากหน้าชื่อเรื่อง บทคัดย่อ อย่างน้อยต้องมี ข้อความต่อไปนี้ปรากฏอยู่อย่างชัดเจน: • คำถามที่เป็นประเด็นให้ค้นคว้า • ขอบเขตของการตรวจสอบข้อเท็จจริง • ข้อสรุปของเรียงความ บทคัดย่อต้องพิมพ์บนกระดาษหน้าเดียว อยู่ต่อจากหน้าชื่อเรื่อง และอยู่หน้าคำนำ

หลักการเขียนบทคัดย่อ 1. มีความสั้น กะทัดรัดและกระชับ (Concision)   คือ เลือกเขียนเฉพาะสาระที่เป็นประเด็นใจความสำคัญโดยใช้คำที่กะทัดรัด มีความกระชับ หลีกเลี่ยงการใช้คำหรือประโยคที่มีความยาว หรือมีความ ซ้ำซ้อน 2. มีความถูกต้อง (Precision)   คือ สามารถถ่ายทอดประเด็นสำคัญของเรียงความได้อย่างถูกต้อง ไม่มีส่วน ของ ข้อมูลหรือแนวคิดอื่น ที่อยู่นอกเหนือจากในเนื้อหาของเรียงความ เมื่อผู้อ่านอ่าน บทคัดย่อจบแล้ว ต้องมองภาพรวมของเรียงความออก ส่วนรายละเอียดนั้น ผู้อ่าน สามารถติดตามอ่านได้ในเรียงความ 3. มีความชัดเจน (Clarity)   การเรียบเรียงถ้อยคำเพื่อเสนอในบทคัดย่อจะต้องสื่อความหมายให้เข้าใจชัดเจน โดยใช้รูปประโยคที่สมบูรณ์

เป็นการแสดงสิ่งที่ปรากฏในรายงานทั้งหมด ตั้งแต่หน้าแรก จน หน้าสุดท้าย 3. สารบัญ / สารบาญ เป็นการแสดงสิ่งที่ปรากฏในรายงานทั้งหมด ตั้งแต่หน้าแรก จน หน้าสุดท้าย

ตัวอย่างสารบัญ สารบัญ หน้า คำนำ ๑ คำและองค์ประกอบของคำ ๒ คำนำ ๑ คำและองค์ประกอบของคำ ๒ ชนิดและหน้าที่ของคำ ๓ ......................................... ... ........................................ ... ภาคผนวก ..... บรรณานุกรม ..... ตัวอย่างสารบัญ

4. เนื้อหา และจะต้องเรียงตามลำดับตามหัวข้อที่ปรากฏในสารบัญ 4. เนื้อหา เนื้อหาแบ่งแยกประเภท เนื้อเรื่อง ย่อหน้า จำนวนหน้า ตามความเหมาะสม และจะต้องเรียงตามลำดับตามหัวข้อที่ปรากฏในสารบัญ

5. ภาคผนวก คือ การนำเอกสารอ้างอิงมาใส่ในรูปเล่มรายงาน

6. บรรณานุกรม เป็นหนังสือที่เราใช้ศึกษาค้นคว้า หรือแหล่งที่มาของความรู้ที่เราใช้ทำรายงาน

วิธีการเขียนบรรณานุกรม ๑. นำมาจากหนังสือ ชื่อผู้แต่งหนังสือ, ชื่อหนังสือเป็นตัวหนา. จังหวัดที่พิมพ์ : ชื่อโรงพิมพ์, ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ ๒. นำมาจากอินเทอร์เน็ต ชื่อเรื่อง, (ปีพ.ศ.ที่เข้าไปค้นหาข้อมูล). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : ชื่อเว็บไซด์เป็นตัวหนา

ขั้นตอนการเขียน - กำหนดเป้าหมายและจำนวนคำในแต่ละส่วนของงานเขียน - กำหนดเป้าหมายและจำนวนคำในแต่ละส่วนของงานเขียน - ลงมือพิมพ์/เขียน โดยคำนึงถึงขั้นตอนและรูปแบบของ การเขียน ระดมความคิด แก้ไขครั้งสุดท้าย จัดข้อมูล การจัดระเบียบ โครงสร้าง ร่างครั้งที่2 ทบทวน แก้ไข ร่างครั้งแรก

จบ