การบริหารองค์กรและบุคลากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
The Power of Communication
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
การบริหารกลุ่มและทีม
ระบบการบริหารการตลาด
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การจัดองค์การ.
บทนำ Introduction Chapter01.
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
The General Systems Theory
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ความดีเด่นของสถานศึกษา
ผู้จัดการฝ่ายขายมืออาชีพ (Professional Sales Manager)
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
Computer Application in Customer Relationship Management
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การจัดทำแผนธุรกิจ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
โครงสร้างขององค์การ.
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
กลุ่มที่ 4.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
บทที่ 16 ครอบครัว.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารองค์กรและบุคลากร โดย ภูษิต ศศิธรานนท์

การออกแบบโครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับธุรกิจ บทบาทหน้าที่ผู้บริหาร การจัดทำแผนบริหารองค์กร การออกแบบโครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับธุรกิจ บทบาทหน้าที่ผู้บริหาร การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ Database, IT Management

ความหมายองค์กร การรวมตัวกันของคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อทำกิจกรรมอย่างหนึ่ง โดยมีเป้าหมายที่ต้องการบรรลุร่วมกัน

ประสิทธิผล (Effectiveness) ความพึงพอใจผู้รับบริการ (Satisfaction) เป้าหมายองค์กร ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) ความพึงพอใจผู้รับบริการ (Satisfaction)

การวางแผนบริหารองค์กร โครงสร้างองค์กร คน (พฤติกรรม & แรงจูงใจ) รูปแบบขององค์กร

โครงสร้างองค์กร ความสลับซับซ้อนขององค์กร (Complexity) สลับซับซ้อนในแนวตั้ง (Vertical Complexity) สลับซับซ้อนในแนวนอน (Horizontal Complexity) 2. ความเป็นทางการ (Formality) 3. การรวมอำนาจ (Centralization)

1. ความสลับซับซ้อนขององค์กร (Complexity) สลับซับซ้อนในแนวตั้ง (Vertical Complexity) ความลึกของโครงสร้างหรือจำนวนระดับ (Levels) ในลำดับชั้น (Hierarchy) ยิ่งมีลำดับชั้นมาก ยิ่งมีความซับซ้อนมาก

สลับซับซ้อนในแนวนอน (Horizontal Complexity) ความแตกต่างระหว่างหน่วยย่อย (Units) เช่น สมาชิกที่แตกต่างกัน อาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง (ทำเล็บ ทำผม นวดตัว) หลากหลายในความเชี่ยวชาญพิเศษในการทำงาน (Specialization)

1. ความสลับซับซ้อนขององค์กร (Complexity) แบ่งตามหน้าที่ (Function) - ตลาด, ประชาสัมพันธ์, ขาย, บัญชี, วิจัย แบ่งตามบริการ และสินค้า (Services & Products) แบ่งตามลูกค้า (Customers) แบ่งตามที่ตั้ง (Geography) แบ่งตามกระบวนการ (Process)

2. ความเป็นทางการ (Formality) หมายถึง องค์กรมีมาตรฐาน (Standardization) การทำงานแต่ละงานมากน้อยแค่ไหน ทางการสูง - กำหนดรายละเอียดอย่างดี (Manual) - มีกฎเกณฑ์การทำงานไว้ครอบคลุม - มีโอกาสน้อยในการทำงานตามใจชอบ

3. การรวมอำนาจ (Centralization) หมายถึง ระดับหรือความมากน้อยที่อำนาจ อย่างเป็นทางการในการตัดสินใจเรื่องสำคัญ ว่าเป็นอำนาจคนเดียว หรือหน่วยงานเดียว หรือระดับเดียวในลำดับชั้นขององค์กร

ข้อควรพิจารณา อำนาจอย่างเป็นทางการ อำนาจอย่างไม่เป็นทางการ

คน & กลุ่มคน & ผู้นำ

กลุ่มคน - กลุ่มทางการ (หัวหน้า&ลูกน้อง ตามสายงาน) - กลุ่มไม่เป็นทางการ

ลักษณะเฉพาะกลุ่ม - กลุ่มเล็กทำงานเร็วกว่ากลุ่มใหญ่ เป็นต้น การกำหนดรูปแบบการแสดงออกทางอารมณ์ - พนักงานบริการ (ยิ้มแย้มแจ่มใส) การสื่อสารภายในกลุ่ม

ผู้นำ (Leader) ภาวะผู้นำ (Leadership) ความสามารถของผู้นำในการมีอิทธิพลต่อผู้อื่น ให้มุ่งมั่นทำงานเพื่อบรรลุเป้าหมายรวม

Max Weber ผู้นำโดยสายเลือด ผู้นำโดยบารมี ผู้นำโดยกฎหมาย

ประเภทผู้นำ (Managerial Grid) ผู้นำแบบทำงานเป็นทีม - มุ่งเป้า คน & งาน ผู้นำแบบ Country Club - ให้ความสำคัญกับคนเต็มที่ สร้างบรรยากาศสบาย ๆ ปราศจากความกดดัน

ประเภทผู้นำ (Managerial Grid) ผู้นำที่เน้นแต่งาน ผู้นำแบบขาดคุณสมบัติ

ประเภทผู้นำ (Managerial Grid) ผู้นำที่ขึ้นกับสถานการณ์ (Contingency Theory) - ประชาธิปไตย และ เผด็จการ - คำนึงเป้าหมายของคนงาน

รูปแบบขององค์กร แนวคิดของ Henry Mintzberg (The Structuring of Organizations)

องค์กรแบบเรียบง่าย (Simple Structure) องค์กรแบบเครื่องจักรกล (The Machine Bureaucracy) องค์กรแบบวิชาชีพ (The Professional Bureaucracy) องค์กรแบบสาขา (The Divisionalized Form) องค์กรแบบเฉพาะกิจ (The Adhocracy)

การแบ่ง 5 ส่วนขององค์กร บัญชาการ ฝ่ายสนับสนุน ฝ่ายเสนาธิการ วิเคราะห์ กำหนดมาตรฐาน ผู้บริหาร ระดับ กลาง ฝ่ายปฏิบัติงานหลัก