การมอบหลักปฏิบัติงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ประเด็น คำถามและคำตอบ 1. จากสถานการณ์งบประมาณที่มีแนวโน้มว่าการ จัดสรรงบประมาณอาจลดลง มวล. ควรเร่งหารายได้เพิ่ม และมียุทธศาสตร์ใน.
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
บรรยายขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ
ระบบการบริหารการตลาด
กลยุทธ์และแผนงานโครงการ
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
กลยุทธ์ = การพัฒนา + การ ขยายธุรกิจ เรารู้จักตัวเรามากน้อยแค่ใหน ? สินค้าเรา กลุ่มใหน ? เกรดใหน ? ขนาดใหน ? ตลาดคืออะไร ? ตลาดของเราอยู่ที่ใหน ? แบบใหน.
กลุ่มสินค้าของใช้ของตกแต่ง สินค้าเครื่องเบญจรงค์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การบรรยายเรื่อง การพัฒนา ย่านการค้าของจังหวัด ในการ ประชุมเชิงปฏิบัติการภายใต้ ภารกิจหลักของพาณิชย์จังหวัด โดย นางเบญจวรรณ รัตนประ ยูร ที่ปรึกษาการพาณิชย์
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
1 การพัฒนาระบบการ ปฏิบัติงาน ของสำนักงาน พาณิชย์จังหวัด โดย รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ ( นาง ไพเราะ สุดสว่าง ) วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
การมอบนโยบายการปฏิบัติงาน ศิริพล ยอดเมืองเจริญ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ แก่ข้าราชการภูมิภาคในสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การมอบหลักปฏิบัติงาน ภายใต้ Core Business ของพาณิชย์จังหวัด โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (ศิริพล ยอดเมืองเจริญ) ในการประชุมเชิงปฏิบัติการพาณิชย์จังหวัดที่จะประชุม ในวันที่ 9 สิงหาคม 2551 เวลา 09.00-09.30 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

ประเด็นนำเสนอ 1.การมอบนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานในภารกิจหลักของพาณิชย์จังหวัด (Core Business) เมื่อวันที 21 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์ 2.การดำเนินงานของสำนักงานพาณิชย์จังหวัดตามแนวทาง Core Business

ประเด็นนำเสนอ 1.การมอบนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานในภารกิจหลักของพาณิชย์จังหวัด (Core Business) เมื่อวันที 21 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์

2. Visionary Thinker/Implementer 1. Change Agent 2. Visionary Thinker/Implementer Change Agent การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากระบบเศรษฐกิจการค้าได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ในเวทีการค้ากระแสแรงผลักดันนโยบายการค้าเสรี (Free Trade Policy) ซึ่งส่งผลกระทบถึงภาครัฐและกระทบต่อผู้ประกอบธุรกิจสินค้าและบริการ Visionary Thinker/Implementer ต้องเป็นนักคิดที่มีวิสัยทัศน์ และจะต้องเป็นนักปฏิบัติที่ดี แบบ “Think Global Act Local “ คือสามารถมองเห็นภาพรวม และคิดต่อยอดถึงโอกาสในการลงมือปฏิบัติจริงให้เกิดผล 3. Strategist ต้องเป็นนักกลยุทธ์ รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะทั้งร้อยครั้ง 4. Creator ต้องเป็นนักจินตนาการ มีความคิดสร้างสรรค์ ในสิ่งที่เป็นไปได้ ไม่เพ้อฝัน สามารถวาดภาพจังหวัดให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ควรจะเป็น 5. Leader ต้องเป็นผู้นำตามธรรมชาติ นั่นคือ สามารถใช้เวลา คน ทรัพยากร และงบประมาณ ได้อย่างมีอรรถประโยชน์สูงสุด 5. Leader 3. Strategist 4. Creator

ประเด็นนำเสนอ 2.การดำเนินงานของสำนักงานพาณิชย์จังหวัดตามแนวทาง Core Business

1. พัฒนาเศรษฐกิจการค้าของจังหวัด โดยร่วมมือกับภาคราชการ หอการค้าจังหวัด สมาคมการค้า และสถาบันการค้า Core Business 1 Outcome 1.หอการค้าจังหวัด สมาคมการค้า และสถาบันการค้า มีความเข้มแข็งและมีส่วนในการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าของจังหวัด 2.พาณิชย์จังหวัดมีความเชี่ยวชาญและเป็นที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการค้าของจังหวัด 3.จังหวัดมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจการค้าที่มีเป้าหมายชัดเจน และสามารถดำเนินการได้เป็นรูปธรรม Objective พัฒนาเศรษฐกิจการค้าและภาคธุรกิจการค้าของจังหวัด Strategy จัดตั้งคณะกรรมการฯ ทำงานร่วมกับภาคธุรกิจการค้า สร้างเครือข่ายและพัฒนาความเข้มแข็งของภาคธุรกิจการค้า พัฒนาบุคลากร ผลการดำเนินงาน สำนักงานพาณิชย์จังหวัดได้ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าจังหวัดแล้ว 13 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย ลำพูน พิษณุโลก นครสวรรค์ อุทัยธานี สระบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม สระแก้ว ชลบุรี ระยอง หนองคาย ร้อยเอ็ด และ อุบลราชธานี อยู่ระหว่างการดำเนินการ 62 จังหวัด

2. จัดทำอุปสงค์สินค้า และบริการเป้าหมาย (Demand Side) และขนาดของตลาด (Market Size) Core Business 2 Outcome พยากรณ์ความต้องการของตลาด วางแผนการผลิต/การตลาด วางแผนบริหารจัดการสถานการณ์ Objective จัดทำอุปสงค์สินค้า/บริการเป้าหมาย Strategy Development HRD System Network ผลการดำเนินงาน กบภ. ได้เสนอแนวทางการจัดทำอุปสงค์สินค้าและบริการของจังหวัดเพื่อนำเสนอที่ประชุม โดยมีข้อมูลสำคัญๆที่ใช้ประกอบคือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) ยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์การค้าจังหวัด แล้วนำมาวิเคราะห์ศักยภาพตามทฤษฎีModel ของ Boston Consulting Group (BCG) เพื่อนำมาวิเคราะห์ความสามารถแข่งขันของสินค้าในตลาด

3. สนับสนุนผู้ประกอบวิสาหกิจการค้าของจังหวัด ทำหน้าที่เป็นศูนย์บริการธุรกิจการค้า (Business Action Center) Core Business 3 Outcome 1. ผู้ประกอบวิสาหกิจการค้าที่มารับบริการที่ มีความพึงพอใจ 2. มีภาพลักษณ์ใหม่ของสำนักงานพาณิชย์ จังหวัดในการพัฒนาและบริหารจัดการเชิงรุก 3. มีการพัฒนาวิธีคิด / บริการของสำนักงาน พาณิชย์จังหวัด Strategy ตั้งศูนย์บริการธุรกิจการค้า เป็น One Stop Access และมี Mobile Unit แนะนำด้านประกอบุธุรกิจ อำนวยความสะดวกด้านการค้า สนับสนุนการขยายการค้าและการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า พัฒนาบุคลากร Objective สนับสนุนผู้ประกอบวิสาหกิจการค้าของจังหวัดให้แข่งขันได้ ผลการดำเนินงาน สำนักงานพาณิชย์จังหวัดได้ดำเนินการเสนอเพื่อพิจารณาคัดเลือกย่านการค้าที่มีศักยภาพของจังหวัดแล้ว จำนวน 60 จังหวัดรวม 77 ย่านการค้า โดยส่วนใหญ่เป็นย่านการค้าที่มีอยู่เดิมและพาณิชย์จังหวัดได้นำมาพัฒนาศักยภาพ

การจัดตั้งศูนย์บริการประชาชนด้านการพาณิชย์ ได้ดำเนินการแล้ว ประกอบด้วย 4.ให้บริการประชาชนด้านการพาณิชย์ (One Stop Service Center) Core Business 4 Outcome 1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 2. มีบริการครบวงจรตอบสนองความต้องการของประชาชน 3. มีการบริหารจัดการของภาครัฐแนวใหม่ Objective ให้บริการข้อมูล เอกสารทางการค้า และรับเรื่องร้องเรียนด้านการพาณิชย์ Strategy พัฒนาบุคลากร (CRM) พัฒนาระบบข้อมูล และบริการ สร้างเครือข่าย ภาคประชาชน ผลการดำเนินงาน การจัดตั้งศูนย์บริการประชาชนด้านการพาณิชย์ ได้ดำเนินการแล้ว ประกอบด้วย 1) การขอเบอร์โทรศํพท์สายด่วน (4 หลัก) อยู่ระหว่างการดำเนินการขอหมายเลขจาก กทช. ซึ่งอยู่ระหว่างการรอพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการชุดใหญ่ 2) Walk In ณ สพจ. โดยมีเคาเตอร์ให้บริการนำร่อง 4 จังหวัด ประกอบด้วย ฉะเชิงเทรา ขอนแก่นร้อยเอ็ด สุพรรณบุรี 3) Web Site ของ สพจ. ได้ดำเนินการปรับปรุงเว็บไซด์ของสพจ.เพื่อเพิ่มช่องการให้บริการประชาชนผ่านทางเว็บไซด์

5.ส่งเสริมและพัฒนาการตลาดสินค้าและบริการของจังหวัด Core Business 5 Outcome สร้างรายได้ /มูลค่าเพิ่มให้กับจังหวัดมากยิ่งขึ้น สินค้า/บริการของจังหวัดมีคุณภาพ/รูปแบบเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ สามารถพัฒนาต่อยอดสินค้า/บริการสู่ระดับสากล Objective ส่งเสริมและพัฒนาการตลาดสินค้า และบริการของจังหวัด Strategy พัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์Product และ การส่งเสริมการจำหน่าย Promotion ผลการดำเนินงาน กระทรวงฯได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินการตามภารกิจหลักของพาณิชย์จังหวัดและให้ สพจ. แจ้งผลพิจารณาคัดเลือกสินค้าพร้อมจัดทำ Business Plan โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.ข้อมูลพื้นฐาน 2.การวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของสินค้า 3.กิจกรรมที่ สพจ. มีส่วนร่วมส่งเสริมในปัจจุบัน 4.กิจกรรมที่เห็นควรส่งเสริมต่อไปในอนาคต 5.ตัวชี้วัดผลสำเร็จ ซึ่งสินค้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเลือกส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าเกษตรแปรรูป และสินค้าหัตถกรรม

เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจการค้าจังหวัด บทบาทสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ตามภารกิจหลัก เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจการค้าจังหวัด การพัฒนาโครงสร้าง/กลไกการทำงาน/บุคลากร การพัฒนาแผนงาน/กิจกรรม 1.Business Action Center 2.One Stop Service Center 1.เลือกสินค้า/บริการเป้าหมาย 2.จัดทำแผนร่วมกับภาคธุรกิจ/เอกชน 3.จัดทำDemand Side/Market Size บทบาทของ สพจ ตามภารกิจหลักในการพัฒนาตามภารกิจหลัก แบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1.การพัฒนาโครงสร้างและกลไกการทำงานของบุคลากร พณจ. ซึ่งก็คือการทำ Business Action Center และ One stop service 2.การพัฒนาแผนงานและกิจกรรมโดยการทำงานร่วมกับภาคธุรกิจและเอกชน ในรูปแบบของคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าจังหวัดโดยการร่วมกันพัฒนาแผนธุรกิจของสินค้าที่สำคัญของจังหวัดและการจัดทำจัดทำอุปสงค์สินค้า และบริการเป้าหมาย ซึ่งจะเห็นการเชื่อมโยงในการทำงานเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจการค้าของจังหวัดให้พัฒนาอย่างยั่งยืน เศรษฐกิจการค้าจังหวัดขยายตัวและเติบโตอย่างยั่งยืนประชาชนในจังหวัดอยู่ดีมีสุข