นางสาวสิริกาญจน์ วิทยาฤ ทธินนท์ ประธาน นางปนัดดา ทองเหลือง ผู้ช่วยเลขานุการ นางอมรรัตน์ เอก อนันต์วงศ์ เลขานุการ นายสามารถ ศรี วิทริยาภรณ์ ผู้นำเสนอ นายมงคล จันทร์ส่อง ผู้นำเสนอ
กระบวนการพิจารณาก่อนสั่ง เลิก และ สั่งเลิก กสส. * ไม่ดำเนินธุรกิจ * สอบถามที่ประชุม กรรมการ สก./ ก. * ตรวจสอบธุรกิจ * ดุลพินิจ สกจ. * กลุ่มตรวจการ วิเคราะห์ เตรียมข้อมูล กตส. ตาม ม.71 * ผู้สอบบัญชีแจ้ง ข้อเสนอแนะ และรายละเอียด เสนอหัวหน้าสำนักงาน * หน. สตส. แจ้ง สกจ. เลิก ไม่เลิก ติดตาม ( ภายในระยะเวลา ) 1 รอบปีบัญชี ติดตาม ( ภายในระยะเวลา ) 1 รอบปีบัญชี ฟื้นฟู ผ่าน ( ความเห็น จสส.) ผ่าน ( ความเห็น จสส.) ไม่ผ่าน สั่ง การ เข้าสู่กระบวนการ ชำระบัญชี ประชุม ปกติ 3 เดือน / ครั้ง Case by Case
การเข้ากระบวนการ ชำระบัญชี 1. แต่งตั้งจากมติที่ประชุมใหญ่ ( ผู้ชำระ บัญชี ) 2. รอง นทส. แต่งตั้งผู้ขำระบัญชี ( ม.75 ) สำเนาให้ สตส. 3. ผู้ชำระบัญชีดำเนินการตาม คำแนะนำ 3.1 รับมอบเอกสาร + ทรัพย์สิน ( ภายใน 30 วัน ) ( ม.78) ถ้าไม่มีเจ้าหนี้ ภายนอก ให้รีบดำเนินการ 3.2 ประกาศโฆษณา เลิกสหกรณ์ ภายใน 30 วัน ( ม.79) แจ้งเจ้าหนี้ 3.3 ทำงบดุลมิชักช้า ( ม.80 ) ผู้สอบ บัญชีรับรอง ( ๖๐วัน ) 3.4 ทวงหนี้ ( ม.84) ( หนี้ปกติ, หนี้ ฟ้องร้อง ), ชำระหนี้ ( ม.86) จัดการ ทรัพย์สิน 3.5 ผู้ชำระบัญชีทำรายงาน + รายการย่อ เสนอผู้สอบบัญชี ( กตส ) ตรวจสอบ ผู้สอบบัญชีรับรอง เสนอ นทส. (30 วัน ) นทส. เห็นชอบ ถอนชื่อ กสส. 1. แต่งตั้งผู้สอบบัญชี สก / กลุ่ม ของงานชำระบัญชี 2. ผู้สอบบัญชีตรวจสอบงบ ณ วันรับมอบทรัพย์สิน ภายใน 60 วัน 3. แจ้งงบที่ตรวจสอบให้ผู้ ชำระบัญชีเรียกประชุมใหญ่ อนุมัติ 4. ตรวจสอบงบและรายการ ย่อที่ชำระบัญชี รายงานการ ชำระบัญชี เพื่อจะถอนชื่อ 5. แจ้งผลการสอบบัญชีให้ผู้ ชำระบัญชีเพื่อดำเนินการถอด ชื่อต่อไป กตส. หมายเหตุ 3.1 – 3.3 ผู้ชำระบัญชีต้องรายงาน นทส. ทุก 6 เดือน ( ตาม มาตรา 85 )
การเปลี่ยนตัวผู้ชำระ บัญชี กรณีตาย, ลาออกจากงาน, ย้าย, เกษียณอายุราชการ 1. แบบส่งมอบงานชำระบัญชี ( ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับทราบคำสั่ง ) 1.1 ผู้ชำระบัญชีรับมอบทรัพย์สินแล้ว 1.2 ผู้ชำระบัญชียังไม่ได้รับมอบทรัพย์สิน ( ดุลพินิจ ) 2. สกจ. แจ้ง สตส. 3. กรณีเป็นกลุ่มเกษตรกร ต้องแจ้งให้เกษตร และสหกรณ์จังหวัดทราบ ขั้นตอนมี ดังนี้
กส ส. 1. สั่งการให้ สหกรณ์แก้ไขตาม ม.22 (1-4 ) สำเนาให้ สตส. 2. กรณีที่ไม่แก้ไข ตามข้อ 1 ให้แจ้ง ความดำเนินคดี อาญา 1. สั่งการให้ สหกรณ์แก้ไขตาม ม.22 (1-4 ) ภายใน 15 – 30 วัน สำเนาให้ สกจ. 2. ติดตามการ แก้ไขหากไม่ ดำเนินการแก้ไขให้ สั่งการให้สหกรณ์ ครั้งที่ 2 หรือ ครั้งที่ 3 3. หากยังไม่ ดำเนินการตามข้อ 1 และ ข้อ 2 ให้ นำเสนอเข้าที่ ประชุม จกบ. กตส.
กส ส. สั่งการให้สหกรณ์ แก้ไขขึ้นอยู่กับ ดุลพินิจ ของ สกจ. 1. สั่งการให้สหกรณ์ แก้ไขข้อบกพร่อง ภายใน วัน สำเนาให้ สกจ. 2. ติดตามการแก้ไข หากไม่ดำเนินการ แก้ไขให้สั่งการให้ สหกรณ์ครั้งที่ 2 หรือ ครั้งที่ 3 3. หากยังไม่ ดำเนินการตาม ข้อ 1 และ ข้อ 2 ให้ นำเสนอเข้าที่ประชุม จกบ. 1. สั่งการให้สหกรณ์ แก้ไขข้อบกพร่อง ภายใน วัน สำเนาให้ สกจ. 2. ติดตามการแก้ไข หากไม่ดำเนินการ แก้ไขให้สั่งการให้ สหกรณ์ครั้งที่ 2 หรือ ครั้งที่ 3 3. หากยังไม่ ดำเนินการตาม ข้อ 1 และ ข้อ 2 ให้ นำเสนอเข้าที่ประชุม จกบ. กตส.