1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

4/2/2017 Triple A Process ระบบการกำกับติดตามผลการดำเนินนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้น สพฐ.
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. ( OBEC AWARDS)
PCTG Model อริยมงคล 55.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
โรงเรียนดีประจำตำบล.
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
พันธกิจและแนวทางพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้รูปแบบกัลยาณมิตร
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาครูและวิชาชีพครู
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
โครงการพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง Talent Management
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาไทย ปี ๒๕๕๓
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
My school.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง 2 พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มที่มีความจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาเร่งด่วน 3 ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นมืออาชีพมีผลงานเชิงประจักษ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติอย่างเหมาะสม 4 องค์กรและคณะบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมและการจัดสรรครู ตระหนักและดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาบรรจุใหม่/ย้ายไปบรรจุ มีความสามารถสอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียน ชุมชน และสังคม

แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ จุดเน้นที่ 1. ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะ ผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีองค์ความรู้และสมรรถนะสอดคล้อง กับการปฏิบัติงาน 1.1 พัฒนาครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ และภาษาไทย ให้มีความรู้ตามกลุ่มสาระ 1.2 พัฒนาศึกษานิเทศก์ให้สามารถนิเทศช่วยเหลือครูให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.1ครูกลุ่มเป้าหมายจำนวน 123,688 คน มีองค์ความรู้ตามเนื้อหา ที่กำหนดในระดับดีขึ้นไป 1.2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบ 4 กลุ่มสาระจำนวน 225 เขต สามารถนิเทศและช่วยเหลือครูให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้

แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ จุดเน้นที่ 1. ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะ ผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 2. ส่งเสริมครูและสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการพัฒนาตนเองตามแผนพัฒนา ตนเอง (ID Plan) 2. สนับสนุนงบประมาณให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาตามแผนพัฒนาตนเอง 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มี ID Plan ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาตนเอง

แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ จุดเน้นที่ 2. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มที่มี ความจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาเร่งด่วน แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. พัฒนาผู้บริหาสถานศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำได้รับการพัฒนา 2. พัฒนาการบริหารวิชาการในศตวรรษที่ 21 (สถานศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำ) 1. สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) 2. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนในฝัน และโรงเรียนดีประจำตำบล 1.ผู้บริหารสถานศึกษาที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกลุ่ม 10% ล่างจำนวน 3,000 โรงเรียนได้รับการพัฒนา 2. ผู้บริหารสถานศึกษา ทุกโรง (โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียน ในฝัน และโรงเรียนดีประจำตำบล) มีความรู้ความสามารถในการบริหารวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในระดับดีขึ้นไป

แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ จุดเน้นที่ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นมืออาชีพมีผลงานเชิงประจักษ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติอย่างเหมาะสม แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. พัฒนาระบบแรงจูงใจให้ได้มาตรฐานและ มีความสอดคล้องกับ ผลการปฏิบัติงาน 2. พัฒนาให้เกิด ความศรัทธาในวิชาชีพ และความภูมิใจในการมุ่งมั่นในการสร้างสรรค์ผลงานแบบมืออาชีพ พัฒนาระบบแรงจูงใจ และคัดเลือกครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีผลการปฏิบัติงาน เชิงประจักษ์ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีผล การปฏิบัติงานเชิงประจักษ์ตามเกณฑ์ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ทุกคน

แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ จุดเน้นที่ 4. องค์กรและคณะบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมและการจัดสรรครู ตระหนักและดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาบรรจุใหม่/ย้ายไปบรรจุ มีความสามารถสอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียน ชุมชน แลสังคม แนวทาง กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. องค์กรและคณะบุคคลได้รับการพัฒนาเพื่อสร้างความตระหนัก จิตสำนึก รับผิดชอบและผลประโยชน์ส่วนรวม 2. ปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียน ชุมชนและ สังคมโดยมีระยะเวลาการดำเนินการที่ชัดเจน 1. พัฒนาองค์คณะบุคคลให้สามารถปฏิบัติงานได้ตามภารกิจ อย่างมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาระบบกำกับ ติดตามการบริหารบุคคลให้มีประสิทธิภาพในทุกระดับ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจำนวน 225 เขต มีการบริหารงานบุคคลเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล