แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ไข้เลือดออก.
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สกลนครโมเดล.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
แผนพัฒนาระบบควบคุมโรค การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558

โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558 โครงการเฉลิมพระเกียรติฯและพระราชดำริ การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน วัยเด็ก: ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ วัยเรียน: ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ ความมั่นคงทางวัคซีน

โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน 2558

สถานการณ์คอตีบ ปี 2555 มีการระบาดที่จังหวัดเลยเขตติดต่อลาว ปี เขตบริการสุขภาพ รวม กทม. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 2554 - 25 28 2555 32 15 63 2556 13 ปี 2555 มีการระบาดที่ จ.เลย ติดชายแดน ลาว ระบาดช่วงเดือน มิย.-พย.57 จำนวน 27 ราย ตาย 2 ราย ปี 2555 มีการระบาดที่จังหวัดเลยเขตติดต่อลาว ข้อมูลจาก สำนักระบาดวิทยา พ.ศ. 2556

โรคคอตีบ ค่าเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 ทุกจังหวัด กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค ประชาชนกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี ทั่วประเทศ

เครือข่ายหลัก ในการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค (สำนักโรคติดต่อทั่วไป และ สคร.) เป็นผู้จัดการดูแลโครงการในภาพรวม วางแนวนโยบาย ในการรณรงค์และสนับสนุนด้านวิชาการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน วัคซีน dT เพื่อใช้ในการรณณรงค์ สำนักเขตบริการสุขภาพ ผลักดันโครงการให้บรรลุเป้าหมาย นิเทศติดตาม ควบคุมกำกับประเมินผล การดำเนินงานของจังหวัดในเขตรับผิดชอบ สสจ. และ สสอ. เป็นแกนกลางในการประสาน สนับสนุน และผลักดันโครงการให้บรรลุเป้าหมาย นิเทศติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ที่รับผิดชอบ สถานบริการระดับต่าง ๆ เป็นหน่วยให้บริการรณรงค์ แก่ประชากรกลุ่มเป้าหมาย โดยอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานทุกภาคส่วน รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

มาตรการและ แนวทางดำเนินงาน สำรวจกลุ่มเป้าหมาย การบริหารจัดการวัคซีน ฉีดวัคซีนในกลุ่มเป้าหมาย สร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วม เพื่อระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งในและนอกภาคสุขภาพ ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขและประชาชนตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือ

แนวทางติดตามประเมินผล หน่วยบริการบันทึกผลการให้บริการเพื่อนำมาคำนวณความครอบคลุมวัคซีน ติดตามการดำเนินงาน และประเมินมาตรการโดยการสุ่มประเมินภาคสนาม โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป ถอดบทเรียนในด้านต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการรณรงค์ให้วัคซีนในโอกาสต่อไป

โรคหัด กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ทุกจังหวัด กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค เด็กกลุ่มอายุ 2 ปีครึ่ง - 7 ปี (ในศูนย์เด็กเล็ก คลินิกเด็กดี โรงเรียนอนุบาล)

เครือข่ายหลัก ในการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค (สำนักโรคติดต่อทั่วไป และ สคร.) เป็น ผู้จัดการดูแลโครงการในภาพรวม วางแนวนโยบายในการ รณรงค์และสนับสนุนด้านวิชาการ สำนักเขตบริการสุขภาพ ผลักดันโครงการให้บรรลุ เป้าหมาย นิเทศติดตาม ควบคุมกำกับประเมินผล การ ดำเนินงานของจังหวัดในเขตรับผิดชอบ สสจ. และ สสอ. เป็นแกนกลางในการประสาน สนับสนุน และผลักดันโครงการให้บรรลุเป้าหมาย นิเทศติดตามการ ดำเนินงานในพื้นที่ที่รับผิดชอบ สถานบริการระดับต่าง ๆ เป็นหน่วยให้บริการรณรงค์แก่ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย โดยอาศัยความร่วมมือจาก หน่วยงานทุกภาคส่วน รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชน

มาตรการและ แนวทางดำเนินงาน สำรวจกลุ่มเป้าหมาย สร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขและครู ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือในส่วนที่เกี่ยวข้อง จัดบริการให้วัคซีน MR แก่เด็กกลุ่มเป้าหมาย ติดตามเก็บตกเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนช่วงรณรงค์ให้มารับวัคซีนให้ครบถ้วน เฝ้าระวังและตอบสนองกรณีมีอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังรับวัคซีน

แนวทางติดตามประเมินผล ติดตามผลการให้บริการและความครอบคลุมการได้รับวัคซีนจากการรายงานของพื้นที่และการสุ่มสำรวจ ประเมินมาตรการโดยการสุ่มประเมินภาคสนาม ถอดบทเรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการรณรงค์ให้วัคซีนในโอกาสต่อไป

โครงการบูรณาการการควบคุมและป้องกันโรคหนอนพยาธิ และโรคติดต่อนำโดยแมลงในพื้นที่แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปีงบประมาณ 2558

โรคหนอนพยาธิและโรคมาลาเรีย ค่าเป้าหมาย ลดอัตราความชุกของโรคหนอนพยาธิ ค่ะเป้าหมายภาพรวมประเทศให้ต่ำกว่าร้อยละ 10 ค่าเป้าหมายระดับเขตตามที่กำหนดดังนี้ สคร.1 – 0.0 (0.0*) สคร.2 – 0.0 (0.0) สคร.3 – 1.0 (1.8) สคร.4 – 5.0 (6.3) สคร.5 – 3.0 (3.2) สคร.6 – 1.0 (2.1) สคร.7 – 4.0 (5.0) สคร.9 – 25.0 (35.5) สคร.10 –15.0 (18.0) สคร.11 – 1.0 (1.9) สคร.12 –10.0 (13.9) ลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียของประเทศ(ตามบริบทพื้นที่)ร้อยละ 20 * อัตราความชุกด้วยโรคหนอนพยาธิ ปี 2557

พื้นที่ดำเนินการโครงการตามพระราชดำริฯ (เป้าหมาย:กิจกรรม) 771 เป้าหมายพื้นที่โรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริฯ 251 เป้าหมายพื้นที่บูรณาการร่วม โรคหนอนพยาธิ และโรคติดต่อ นำโดยแมลง 771 251 197 16 197 เป้าหมายพื้นที่โรงเรียนสังกัดตำรวจตระเวนชายแดน ในโครงการตามพระราชดำริฯ 16 เป้าหมายพื้นที่โรงเรียน ตชด. ต้นแบบ 4 4 เป้าหมายพื้นที่ ชุมชนต้นแบบ 4 ชุมชน

สำนักเขตบริการสุขภาพ สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง เครือข่ายหลัก ในการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค สำนักเขตบริการสุขภาพ สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักสื่อสารและประชาสัมพันธ์ สคร./สสจ. นคม /ศตม/ ตชด./ สพฐ /กสน./ปอเนาะ./ อปท

มาตรการและ แนวทางดำเนินงาน ประสานงานและสนับสนุนกระบวนการดำเนินงานด้านการป้องกัน ควบคุมโรค บูรณาการแผนงานกิจกรรม ตัวชี้วัดมาตรฐานเพื่อการประเมินโรงเรียน ตชด. ต้นแบบด้านสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพครู

แนวทางติดตามประเมินผล ติดตามแผนการเรียนการสอนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของโรงเรียน ประเมินความสำเร็จ/รูปธรรมของการประเมิน โรงเรียน ตชด. ต้นแบบ ประเมินความสำเร็จ/รูปธรรมของ ชุมชนต้นแบบ ประเมินอัตราป่วยของโรคหนอนพยาธิ/มาลาเรียลดลง

การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

Flow งานของสำนักระบาดวิทยา การพัฒนานักระบาดวิทยา IHR ข่าวสารจากการเฝ้าระวัง ข่าวสารจากแหล่งอื่นๆ SAT* Decision* EOC* Normal response แจ้งผู้บริหาร* พัฒนาโปรแกรม การพัฒนานักระบาดวิทยา

การพัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) พัฒนาเจ้าหน้าที่ ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้า ระวังได้ ศักยภาพทีม SRRT SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ IHR 2005 ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทาง เข้าออกประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ สุขภาวะชายแดน พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบมูลประชากร ต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน

การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 80 ของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ร้อยละ 70 ของช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศและจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินทีกำหนด กลุ่มเสี่ยง ทุกอำเภอทั่วประเทศ 5 จังหวัด ได้แก่ ตาก น่าน หนองคาย สระแก้ว ระนอง

สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักระบาดวิทยา สำนักเขตบริการสุขภาพ สสจ/สคร. อปท เครือข่ายหลัก ในการดำเนินงาน สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักระบาดวิทยา สำนักเขตบริการสุขภาพ สสจ/สคร. อปท สถานบริการระดับต่าง ๆ

มาตรการและ แนวทางดำเนินงาน พัฒนาระบบเฝ้าระวังได้มาตรฐาน (5ระบบ 5 มิติ)และครอบคลุมทุกระดับ พัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติด้านสาธารณสุข พัฒนา EOC และเชื่อมต่อระหว่างส่วนกลางและเขตบริการสุขภาพ พัฒนา SAT พัฒนาการวิเคราะห์ข้อมูลและพยากรณ์โรค พัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขได้อย่างรวดเร็ว พัฒนาระบบการควบคุมโรคและภัยสุขภาพช่องทางเข้าออกประเทศ จังหวัดชายแดนและประชาการต่างด้าว ได้ตาม IHR 2005 พัฒนาระบบ SRRT ให้ได้มาตรฐานตาม IHR 2005

แนวทางติดตามประเมินผล ติดตามการดำเนินงานและประเมินระบบเผ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขสอบสวนป้องกันควบคุมโรค

ศูนย์เด็กเล็กและ โรงเรียนอนุบาลปลอดโรค ปี 2558 ศูนย์เด็กเล็กและ โรงเรียนอนุบาลปลอดโรค ปี 2558

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 50 ของศูนย์เด็กเล็ก จะต้องดำเนินการควบคุมป้องกันโรคมือเท้าปาก ไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่ในช่วง 2 เท่าของระยะฟักตัว (second generation) กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์เด็กเล็กสังกัด อปท กลุ่มเด็กอายุ 4-6 ปี ในโรงเรียนอนุบาลในสังกัด สพฐ(ประถมศึกษา)

เครือข่ายดำเนินงาน กรมอนามัย สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักระบาดวิทยา สสจ/สคร สพฐ/ อปท

เน้นการควบคุมโรคมือเท้าปากในศูนย์เด็กเล็ก การคัดกรองและแยกเด็กป่วย มาตรการและ แนวทางดำเนินงาน เน้นการควบคุมโรคมือเท้าปากในศูนย์เด็กเล็ก การคัดกรองและแยกเด็กป่วย ถ้าพบเด็กป่วยให้เด็กกลับบ้าน หากพบเด็กป่วยในศูนย์เด็กเล็กที่มีรายงานการระบาดเกิน first generation ให้มีปิดศูนย์ ประสาน รพสต./อปท เพื่อสอบสวนและควบคุมโรค

แนวทางติดตามประเมินผล ติดตามเหตุการณ์การระบาดของโรคมือเท้าปาก โดยสำนักระบาดวิทยา ประเมินมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป

โรคอาหารเป็นพิษ

จำนวนเหตุการณ์ระบาดของอาหารเป็นพิษในโรงเรียน โรคอาหารเป็นพิษ จำนวนเหตุการณ์ระบาดของอาหารเป็นพิษในโรงเรียน เขตบริการสุขภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 กทม รวม ปี 53 18 ปี 54 23 ปี 55 20 ปี 56 24 ปี 57 40 75 Mean 5.5 1.75 3.5 3.7 2.5 2.8 1.4 1.5 2.3 32 Median แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา

โรคอาหารเป็นพิษ ค่าเป้าหมาย โรงเรียนทั่วประเทศ กลุ่มเสี่ยง เหตุการณ์ระบาดด้วยโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียนไม่เกินร้อยละ 70 จาก median เหตุการณ์ 5 ปีย้อนหลัง กลุ่มเสี่ยง โรงเรียนทั่วประเทศ

เครือข่ายหลัก ในการดำเนินงาน สำนักตรวจและประเมินผล สสจ. โรงเรียน/ศูนย์อนามัย/ สพฐ./อปท กรมอนามัย

มาตรการและ แนวทางดำเนินงาน มาตรการในโรงเรียน : โดยเน้น เรื่อง มีระบบโรงอาหารที่มีมาตรฐาน / นมเด็กมีคุณภาพ / อาหารบริจาคที่ปลอดภัย / อาหารเข้าค่ายหรือทัศนศึกษาปลอดภัย จัดทำ MOU กับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ครูและผู้เกี่ยวข้อง มีการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษเพื่อทราบสาเหตุนำไปสู่การควบคุมป้องกันโรคในครั้งต่อไป ให้เพิ่มมาตรการควบคุมไข้เลือดออกในโรงเรียนโดยเฉพาะ vector index

แนวทางติดตามประเมินผล ติดตามผลการดำเนินงานตามมาตรการ โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป / สคร. ติดตามจำนวนสถานการณ์การระบาดด้วยโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน โดยสำนักระบาดวิทยา

การพัฒนาคลังวัคซีนสำรอง เพื่อรองรับการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินระดับประเทศ กรมควบคุมโรค

ค่าเป้าหมาย มีคลังวัคซีนสำรองของประเทศในภาวะฉุกเฉิน ภาคละ 1 แห่ง Setting พื้นที่เป้าหมาย : ภาคกลาง สคร.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สคร. 6 ภาคเหนือ สคร.9 ภาคใต้ สคร.12 กลุ่มเป้าหมาย : เภสัชกรและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบคลังวัคซีน สคร. 1-12 / สสจ.

มาตรการ แนวทางดำเนินงาน พัฒนาคลังวัคซีนสำรอง ดำเนินการสำรวจคลังวัคซีนของ สคร. 12 แห่ง รวมทั้งประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนการสำรวจคลังวัคซีนพัฒนาคลังวัคซีนสำรองภายหลังสำรวจด้านต่างๆ เพื่อของบประมาณสนับสนุน ปี 59 พัฒนาบุคลากรผู้ดูแลระบบ ( cold chain manager) พัฒนาระบบข้อมูลให้สามารถติดตามข้อมูลคลังวัคซีน

มาตรการ แนวทางดำเนินงาน พัฒนาคลังวัคซีนสำรอง ดำเนินการสำรวจคลังวัคซีนของ สคร. 12 แห่ง รวมทั้งประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนการสำรวจคลังวัคซีนพัฒนาคลังวัคซีนสำรองภายหลังสำรวจด้านต่างๆ เพื่อของบประมาณสนับสนุน ปี 59 พัฒนาบุคลากรผู้ดูแลระบบ ( cold chain manager) พัฒนาระบบข้อมูลให้สามารถติดตามข้อมูลคลังวัคซีน

แนวทางติดตามประเมินผล จากการประเมินการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก(In-depth Interview) การถอดบทเรียนจากการสำรวจ และจากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การทำแผนปฏิบัติงาน

แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558

เป้าหมาย Setting เครือข่าย มาตรการ ติดตามประเมินผล 1. โครงการเฉลิมพระเกียรติ /พระราชดำริ คอตีบ โรคหัด อายุ 20-50 ปี อายุ 2-7 ปี - สป. / ท้องถิ่น / สปสช. / ศธ. / แรงงาน / อื่น ๆ - วัคซีน dT / MR ข้อมูลการให้บริการ กิจกรรมตามกำหนด 2. ระบบควบคุมโรค - ไข้เลือดออก - ทุกกลุ่มอายุอำเภอเสี่ยง - สป. / ท้องถิ่น / ศธ. / อื่น ๆ - ระบบเฝ้าระวัง, SRRT, EOC ข้อมูล 506 3. เด็กปฐมวัย : ศูนย์เด็กเล็ก - มือ เท้า ปาก - ศูนย์เด็กเล็ก - สป. / ท้องถิ่น / ศธ. / กรมอนามัย/ อื่น ๆ ศูนย์เด็กเล็ก ปลอดโรค ประเมิน 4. เด็กวัยเรียน อาหารเป็นพิษ - โรงเรียน - สป. / ศธ. / กรมอนามัย/ อื่น ๆ - จัดการ 4 ปัจจัย นม, อาหารโรงเรียน, อาหารบริจาค, กิจกรรมพิเศษ ข้อมูลเหตุการณ์ 5. ความมั่นคงด้านวัคซีน ระบบสำรองวัคซีน - สสจ. /สคร. /ส่วนกลาง - สป. / สปสช. ระบบคลังสำรองวัคซีน ผู้จัดการ Cool Chain ระบบข้อมูล การสำรองวัคซีน การขาดแคลนวัคซีน