ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพ จังหวัดชลบุรี ปี 2555 - 2559 การกำหนดทิศทางการพัฒนาการดำเนินงานด้านสุขภาพ ของจังหวัดชลบุรี ใช้กรอบแนวคิดการบริหารยุทธศาสตร์ทั่วทั้งองค์การ เป็นเครื่องมือ โดยใช้หลักการของดร.พิสัณห์ นุ่นเกลี้ยง เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารยุทธศาสตร์ ซึ่งหลักการของดร.พิสัณห์ นุ่นเกลี้ยง โดยมีการออกแบบ ความคิดตามหลักการบริหารแบบยุทธศาสตร์ , PMQA และการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหาร ราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังนี้ (1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อ สถานการณ์ (6) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการ ตอบสนองความต้องการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ
PMQA Framework
ค่านิยมหน่วยราชการ การที่จะมุ่งสู่องค์กรสมรรถนะสูง ต้องมีการบริหารยุทธศาสตร์ที่ดี และบุคลากรต้องมีค่านิยมนี้
กระบวนการจัดทำระบบบริหารยุทธศาสตร์ โดยใช้เครื่องมือ Balanced Scorecard อ.พิสัณห์ นุ่นเกลี้ยง รู้เขา รู้เรา 1. วิเคราะห์ความต้องการทางยุทธศาสตร์ 2. ประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร์ นโยบาย ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการณ์ตามภารกิจ ศึกษา และ วิเคราะห์ ความต้องการ หรือจุดยืน ทางยุทธศาสตร์ ประเมินศักยภาพองค์กร ในการตอบสนองความต้องการ ทางยุทธศาสตร์ 5.ดำเนินการ รายงานผล ประเมินผล /ปรับปรุงและพัฒนา ติดตามผล ดำเนินงานตามแผน 6. เชื่อมโยงความสมดุลย์ทรัพยากรทางยุทธศาสตร์ 3.กำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ (เป็นอะไร ?) (ทำอะไร ?) (มุ่งเน้นอะไร ?) (ได้อะไร ?) ทบทวน ภารกิจ และ โครง สร้าง องค์กร พัฒนาขีด ความ สามารถ แก่ บุคลากร พัฒนา ระบบ ICT จัดทำ งบประมาณ แบบมุ่งเน้น กลยุทธ์และ วัดความคุ้มค่าทางการเงิน (SPBB+PART) ยก ระดับภาวะผู้นำ แก่ทีมบริหาร CSF CSF เริ่มต้นด้วย 1.การหาจุดยืนทางยุทธศาสตร์ (SP) ด้วยการวิเคราะห์ P B S Policy need :เพราะเราเป็นหน่วยงานในสังกัดสธ.ในส่วนภูมิภาคต้องปฏิบัติตามนโยบาย Business need : ทำตามที่กฎหมายกำหนด ความต้องการขององค์กรต้องดูคู่แข่ง ความท้าทาย steakholder need : เพราะหลัก TQM จึงต้องคำนึงถึง ต้องบอกได้ว่าจะทำอย่างไรให้steakholderพึงพอใจ 2.วิเคราะห์ว่าทำได้ /ไม่ได้ SWOT ถ้าเทียบ กับPMQA กล่อง 1 – 4 คือหมวด 1 2 และ 3 กล่อง5 คือการทำกระบวนการหมวด6 และประเมินผลลัพธ์หมวด 7 ส่วนกล่อง6 ตรงกลาง คือ หมวดที่เป็นฐานในการสนับสนุน หมวด 4 และ5 CSF 4. แปลงยุทธศาสตร์สู่การวัดผลและกำหนดกลยุทธ์ และโครงการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนงาน / โครงการ กิจกรรม
งานตามภารกิจของหน่วยงาน งานตามแผนยุทธศาสตร์ งานปกติ ทำให้ดีกว่าเดิม (ประสิทธิผล &ประสิทธิภาพ) ทำเหมือนเดิม ยอมรับผลการปฏิบัติในอดีตได้ อ.พิสัณห์ นุ่นเกลี้ยง กพร. งานใหม่ + งานที่ปรับปรุงให้ดีกว่าเดิม งานที่ทำแบบเดิม งานตามภารกิจ งานใหม่ งานที่ทำให้ดีกว่าเดิม = ยุทธศาสตร์ งานปกติ = รักษามาตรฐานไม่ให้ต่ำกว่าเดิม
วิสัยทัศน์ 2564 ชลบุรีเป็นผู้นำสร้างสุขภาพ และบริการสุขภาพระดับชาติ วิสัยทัศน์ เป็นการสื่อสารว่า เราจะเป็นอะไร / จะให้ใครเป็นอะไร /จะให้ใครทำอะไรเป็น เป็นผลลัพธ์สุดท้ สำนักงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (CSF) ประชาชนจังหวัดชลบุรีมีคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพที่ดี (Life Expectancy อายุคาดเฉลี่ยมากกว่า 80 ปี) ทุกคนในจังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่เท่าเทียม มีคุณภาพ มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ วิสัยทัศน์บรรลุหรือไม่ อยู่ที่หาCSF เจอหรือไม่ เมื่อเจอแล้ว ต้องหาต่อว่าแล้วจะต้องทำอะไ สำนักงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
CSF Vision 1. ประชาชนจังหวัดชลบุรีมีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพที่ดี (Life Expectancy อายุคาดเฉลี่ยมากกว่า 80 ปี) CSF Mission 1. อัตราป่วย/ตายจากโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชลบุรีลดลง และปลอดภัยจากภัยสุขภาพ 2. คนชลบุรีมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ต้องทำอะไร (Mission ) 1. พัฒนาระบบส่งเสริมควบคุมป้องกัน และรักษาโรค ที่เป็นปัญหาสำคัญและคุ้มครองผู้บริโภคให้มีประสิทธิภาพ 2. สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อให้คนชลบุรีมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมแบบมีส่วนร่วม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้ได้คุณภาพมาตรฐาน ต้องทำอะไร = Mission
CSF Vision 2. ทุกคนในจังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่เท่าเทียมมีคุณภาพ มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ CSF Mission ระบบหลักประกันสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและมีอัตราการเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น (เจ็บป่วยมีที่รักษา) 2. ระบบบริการสุขภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับบริบทของจังหวัดชลบุรี(รัฐ เอกชน คลินิก ระบบส่งต่อ) ต้องทำอะไร (Mission ) 1.พัฒนาระบบบริการให้ได้คุณภาพมาตรฐานระดับชาติสอดคล้อง กับบริบทของจังหวัดชลบุรี 2.พัฒนาระบบบริหารจัดการให้ได้คุณภาพมาตรฐาน
พันธกิจ (Mission) พัฒนาระบบส่งเสริมควบคุมป้องกัน และรักษาโรคที่ เป็นปัญหาสำคัญและคุ้มครองผู้บริโภคให้มี ประสิทธิภาพ สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อให้คนชลบุรีมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมแบบมีส่วนร่วม พัฒนาระบบบริการให้ได้คุณภาพมาตรฐานระดับชาติ สอดคล้องกับบริบทของจังหวัดชลบุรี พัฒนาระบบบริหารจัดการให้ได้คุณภาพมาตรฐาน เป็นพันธกิจตามยุทธศาสตร์ ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจตามกฎหมายเนื่องจากองค์กรจะทำในสิ่งที่กฎหมายไม่รองรับไม่ได้
ประเด็นยุทธศาสตร์ (จุดเน้น) 1. ส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน รักษาโรค (NCD / CD) และลดปัจจัยเสี่ยงภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญ ของจังหวัดชลบุรี 2. ส่งเสริมสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วย 3อ 2ส แบบมีส่วนร่วมโดยชุมชน 3. พัฒนาสถานบริการทุกระดับให้ได้ตามมาตรฐาน ของกระทรวงสธ.และตามแนวทางพัฒนาคุณภาพ HA , PCA 4.พัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทาง PMQA หน่วยบริหาร สสจ./สสอ. HA รพ. PCA รพ.สต. การทำยุทธศาสตร์ คือมุ่งเน้นอะไร ทำแล้วต้องทำงานง่ายกว่าเดิม ไม่ต้องทำทุกเรื่อง เน้นงานที่เป็นหัวใจตามหลัก Parioto ทำ 20 เพื่อให้ได้ผล 80 จากนั้นต้องคิดต่อว่า ทำแล้วจะได้อะไร = เป้าประสงค์
เป้าประสงค์ (Goal) 1. ประชาชนจังหวัดชลบุรีปลอดภัยจากภัยสุขภาพ และมีอัตราป่วย /ตายด้วยโรคNCD / CD ที่เป็น ปัญหาลดลง 2. สภาพแวดล้อมชุมชนชลบุรีเอื้อต่อคนชลบุรี สุขภาพดี 3. ประชาชนเชื่อมั่น และสามารถเข้าถึงเครือข่าย ระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน 4. หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัดได้ มาตรฐานการบริหารจัดการ PMQA การกำหนดเป้าประสงค์ ต้อง SMART Specific Mesurable Agreement Realistic Time frame
ทิศทางการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ จังหวัดชลบุรี
ประเด็นยุทธศาสตร์(Strategic Issue) Vision : ปี 2564 ชลบุรีเป็นผู้นำสร้างสุขภาพ และบริการสุขภาพระดับชาติ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์(Strategic Issue) เป้าประสงค์(Goal) 1.พัฒนาระบบส่งเสริมควบคุมป้องกัน และรักษาโรคที่เป็นปัญหาสำคัญและคุ้มครองผู้บริโภคให้มีประสิทธิภาพ 1.ส่งเสริม ควบคุมป้องกัน รักษาโรค (NCD / CD)และลดปัจจัยเสี่ยงภัยสุขภาพ ที่เป็นปัญหา สำคัญ ของชลบุรี 1. ประชาชนจังหวัดชลบุรีปลอดภัยจากภัยสุขภาพและมีอัตราป่วย /ตายด้วยโรคNCD / CD ที่เป็นปัญหา ลดลง 2. สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อให้คนชลบุรีมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมแบบมีส่วนร่วม 2.ส่งเสริมสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วย 3 อ (อาหาร , อารมณ์ , ออกกำลังกาย) 2 ส (ลด ละ เลิก สุรา, บุหรี่ , ยาเสพติด) แบบมีส่วนร่วมโดยชุมชน 2. สภาพแวดล้อมชุมชนชลบุรีเอื้อต่อคนชลบุรีสุขภาพดี 3. พัฒนาระบบบริการให้ได้คุณภาพและมาตรฐานระดับชาติสอดคล้องกับบริบทจังหวัดชลบุรี 3.พัฒนาเครือข่ายสถานบริการทุกระดับให้ได้ตามมาตรฐานของกระทรวงสธ.และตามแนวทางพัฒนาคุณภาพ HA PCAสอดคล้องกับบริบทจังหวัดชลบุรี 3.ประชาชนเชื่อมั่น และสามารถเข้าถึงเครือข่ายระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน 4 . พัฒนาระบบบริหารจัดการให้ได้คุณภาพมาตรฐาน 4. พัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทาง PMQA ในหน่วยบริหาร รพ. ตามแนวทาง HA รพ.สต.ตามแนวทาง PCA 4.หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัดได้มาตรฐานการบริหารจัดการ PMQA
เป้าประสงค์ ที่ 1 ประชาชนจังหวัดชลบุรีปลอดภัยจากภัยสุขภาพและ มีอัตราป่วย/ตายด้วยโรค (NCD / CD) ที่เป็นปัญหาสำคัญลดลง NCD : ความดันโลหิตสูง , เบาหวาน , โรคหัวใจ , มะเร็ง ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ (หากลุ่มเสี่ยง) KPI 1.อัตราความครอบคลุมการคัดกรองโรค DM/HT ของ ปชช. 15 ปีขึ้นไป(90 %) 2.ร้อยละของสถานบริการทุกแห่งจัดบริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (100%) 3. ร้อยละของ ปชช.อายุ 15 ปี (ไม่เกิน 60%) ชาย รอบเอวเกิน 90 cm หญิง รอบเอวเกิน 80 cm 1. ปชช.กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ กลับเข้าสู่กลุ่มปกติ ร้อยละ 20 1อัตราอุบัติการณ์ผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคDM ไม่เกิน ร้อยละ 5 2.อัตราอุบัติการณ์ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ 10 4.อัตราการครอบคลุมการตรวจPapsmear (80% สะสมตั้งแต่ ปี 53) 2.อัตราเพิ่มการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม รายใหม่ ร้อยละ 20 /ปี 3.ลดอัตราป่วยด้วยมะเร็งปากมดลูก stage 2 ลดลง ร้อยละ 10
เป้าประสงค์ ที่ 1 ประชาชนจังหวัดชลบุรีปลอดภัยจากภัยสุขภาพและ มีอัตราป่วย/ตายด้วยโรค (NCD / CD) ที่เป็นปัญหาสำคัญลดลง NCD : ความดันโลหิตสูง , เบาหวาน , โรคหัวใจ , มะเร็ง ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 5. ประชากรลุ่มเป้าหมายเข้าถึงข้อมูลการส่งเสริม ควบคุมป้องกัน รักษาโรค NCD (เบาหวาน,ความดัน,มะเร็งปากมดลูกและโรคอ้วน) และลดปัจจัยเสี่ยงภัยสุขภาพ (ช่องทางสื่อ ,สื่อ,เครือข่ายสาธารณะ) 6. มีชุดกิจกรรมการสร้างกระแสฯ NCD (เบาหวาน,ความดัน,มะเร็งปากมดลูกและโรคอ้วน) 3.ประชาชนตระหนักในการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เบาหวาน,ความดัน,มะเร็งปากมดลูกและโรคอ้วน) 1อัตราอุบัติการณ์ผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคDM ไม่เกิน ร้อยละ 5 2.อัตราอุบัติการณ์ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ 10 3.ลดอัตราป่วยด้วยมะเร็งปากมดลูก stage 2 ลดลง ร้อยละ 10 โรคอุบัติใหม่ระบาดซ้ำ/อุบัติเหตุ/อุบัติภัย/ภัยจากการท่องเที่ยว/แรงงานข้ามชาติ
เป้าประสงค์ ที่ 1 ประชาชนจังหวัดชลบุรีปลอดภัยจากภัยสุขภาพและ มีอัตราป่วย/ตายด้วยโรค (NCD / CD) ที่เป็นปัญหาสำคัญลดลง CD : ปอดอักเสบ , วัณโรคปอด , เอดส์ ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 7.สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ และอปท.ที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ 8.สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ และอปท.ที่เกี่ยวข้องผ่านการประเมินกระบวนการ(SOP) 4.สถานบริการสาธารณสุขผ่านมาตรฐาน(NTP) 5.ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) 4.อัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคTBลดลง 9.มีรูปแบบกิจกรรมการดำเนินงานเชิงป้องกันในกลุ่ม KAPs 10.เชื่อมโยงระบบการดูแลสุขภาพจากหน่วยบริการ ไปยังการดำเนินงานเชิงป้องกันในกลุ่ม KAPs 6.หน่วยงานภาครัฐฯ, อปท. และเอกชน ที่มีแผนงาน/โครงการ ด้านการป้องกันและขับเลื่อนสู่การปฏิบัติ 7.หน่วยบริการที่จัดระบบบริการสุขภาพเป็นมิตร (Friendly Service) ในกลุ่ม KAPs และมีระบบการส่งต่อจากหน่วยงานภาคชุมชน (NGOs / LAOs) 5.อัตราผู้ติดเชื้อHIV รายใหม่ ลดลง KAPs = Key Affected Population 1. Youth aged 10-24 Yrs. 2. MARPs > MSM > FSW > Migrant Worker การระบาดเชื้อเอชไอวีหลักๆ ปัจจุบันอยู่ในกลุ่ม MSM (GMSM, MSW, TG), FSW (venue based and non-venue based), Migrant Worker และกลุ่ม Youth (12-24 ปี) ซึ่งการเข้าถึงประชากรกลุ่มดังกล่าวเป็นไปได้ยาก เนื่องจากไม่ค่อยเปิดเผยต่อสังคม WHO and UNAIDS ได้ recommend intervention ในการดำเนินงาน ดังนี้ 1. การทำ out reach โดย จนท.ภาคสนาม ที่เป็น proxy people 2. การสร้าง peer 3. การ approach KAPs โดยอาศัย peer เพื่อสร้างความรู้ ทัศนะคติ และพฤติกรรม 4. การสร้าง Drop-in center (DIC) ที่สอดคล้องกลับบริบทของ KAPs และมีบริการที่รองรับในด้านการให้ information และการให้คำปรึกษาเบื้องต้น (basic counseling) ด้านเอดส์ และอนามัยเจริญพันธ์ รวมถึงอาจมีการเชื่อมต่อ หรือส่งต่อเพื่อเข้ารับบริการขั้นสูงต่อไปในด้าน VCT and STIs 5. การกระจายอุปกรณ์ป้องกัน (condom + lubricant) ให้คลอบคลุมกลุ่มประชากร 6. การรณรงค์ และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสสังคม รวมทั้งการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ (Stigmatization and discrimination)
เป้าประสงค์ ที่ 1 ประชาชนจังหวัดชลบุรีปลอดภัยจากภัยสุขภาพและ มีอัตราป่วย/ตายด้วยโรค (NCD / CD) ที่เป็นปัญหาสำคัญลดลง ลดภัยสุขภาพ สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ได้มาตรฐาน ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 1.สถานประกอบการที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง ฯลฯ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด KPI 1.ร้อยละ 100 ของสถานประกอบการที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ สถานประกอบการเป้าหมายและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพลดลง 1.ร้อยละ 95 ของอาหารสดปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 2.ร้อยละ 75 ของผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร ยา และเครื่องสำอาง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3.ร้อยละ20ของเครือข่ายชมรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค/อย.น้อย มีกิจกรรมด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชน ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ได้มาตรฐาน 2.การดำเนินคดีทางกฎหมายกับผู้กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ร้อยละ 100 ของการกระทำฝ่าฝืนกฎหมาย ได้รับการดำเนินการตาม Compliance policy
เป้าประสงค์ ที่ 1 ประชาชนจังหวัดชลบุรีปลอดภัยจากภัยสุขภาพและ มีอัตราป่วย/ตายด้วยโรค (NCD / CD) ที่เป็นปัญหาสำคัญลดลง ลดภัยสุขภาพ สารปนเปื้อนในอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ได้มาตรฐาน ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 3.มีชมรมเครือข่ายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มขึ้น KPI 3.มีชมรมเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ของจำนวนโรงเรียนทั้งหมด 4.มีเครือข่ายชมรมด้านคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ชมรม สถานประกอบการเป้าหมายและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพลดลง 1.ร้อยละ 95 ของอาหารสดปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 2.ร้อยละ 75 ของผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร ยา และเครื่องสำอาง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3.ร้อยละ20ของเครือข่ายชมรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค/อย.น้อย มีกิจกรรมด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชน ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ได้มาตรฐาน
เป้าประสงค์ ที่ 2 สภาพแวดล้อมชุมชนชลบุรีเอื้อต่อคนชลบุรีสุขภาพดี ส่งเสริมสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วย 3 อ 2 ส แบบมีส่วนร่วม 3 อ (อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย) 2 ส (ลด ละ เลิก สุรา, บุหรี่,ยาเสพติด) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) พัฒนาศักยภาพกองทุนตำบลสู่ชุมชนสุขภาพดี KPI 1.กองทุนสุขภาพตำบลมีแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพ 2. กองทุนสุขภาพตำบลมีการนำแผนสู่การปฏิบัติ ตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลสุขภาพดีร้อยละ100 โรงเรียนผ่านเกณฑ์รร.ส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ตำบลเป็นตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ผ่านเกณฑ์ระดับ ดีมาก มีพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ตำบลผ่านมาตรฐานหมุ่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หมู่บ้าน/ชุมชนผ่านเกณฑ์คุ้มครองผู้บริโภคและอาหารปลอดภัย ชุมชนเป็นชุมชนสุขภาพดี ทุกอำเภอมีการดำเนินงานด้านชุมชนสุขภาพดี ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลสุขภาพดี
เป้าประสงค์ ที่ 3 ประชาชนเชื่อมั่น และสามารถเข้าถึงเครือข่าย ระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน พัฒนาเครือข่ายสถานบริการทุกระดับให้ได้ตามมาตรฐานของกระทรวงสธ.และตามแนวทางพัฒนาคุณภาพ HA PCA ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 1.หน่วยบริการมีระบบบริหารความเสี่ยงที่มีคุณภาพ(มีผู้รับผิดชอบ,แผน,การควบคุมกำกับ 1.มีเครือข่ายบริการและเครือข่ายบริหารจัดการความเสี่ยง(สสจ) KPI 1.มีกิจกรรม CQI /R to R จากการปรับปรุงความเสี่ยง 2.ตรวจประเมินคุณภาพบริการแบบบูรณาการ (internal audit;visit on site) โดยทีมสหวิชาชีพ 1.หน่วยบริการผ่านการรับรองคุณภาพ HA,PCA 1.รพ.ผ่านการรับรองคุณภาพ HA เพิ่ม 2.รพ.สต.ผ่านการรับรองคุณภาพ PCA ขั้น 3 2.มีแผนพัฒนาตามservice plan มีแผนสู่การปฏิบัติ ร้อยละ 100 ของสถานบริการมีแผนพัฒนาระบบบริการตามservice plan - มีแนวทางการปฏิบัติในการส่งต่อ -ไม่มีการปฏิเสธการส่งต่อผป.5 โรค 2.พัฒนาหน่วยบริการได้ตามมาตรฐานตามservice plan และพัฒนาระบบบริการส่งต่อที่มีคุณภาพ 1.ร้อยละ 100 ของสถานบริการมีกรบริหารจัดการทรัพยากรตามส่วนขาด 2.EMS 2.หน่วยบริการมีมาตรฐานตามแผนพัฒนาระบบบริการตาม service planของกระทรวงสธและ ระบบการส่งต่อมีประสิทธิภาพ KPI ร้อยละ 100 ของรพ.มีค่าCMI เฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 2 ปีที่ผ่านมาและได้ตามกระทรวง
เป้าประสงค์ ที่ 3 ประชาชนเชื่อมั่น และสามารถเข้าถึงเครือข่าย ระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน พัฒนาเครือข่ายสถานบริการทุกระดับให้ได้ตามมาตรฐานของกระทรวงสธ.และตามแนวทางพัฒนาคุณภาพ HA PCA ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 3.มีรูปแบบแนวทางการจัดบริการ5 โรคหลัก มีคู่มือแนวทางการดูแลผู้ป่วย 5โรค ระดับจังหวัด(อุบัติเหตุฉุกเฉิน,เบาหวาน,ความดัน มะเร็งปากมดลูก,หัวใจและหลอดเลือดสมอง) 3.หน่วยบริการมาตรฐานและมีนวตกรรมการดูแลผู้ป่วย 5 โรคหลัก KPI 1.ร้อยละของประชาชน 5 โรคมีความพึงพอใจบริการ 2.จำนวนนวตกรรมการดูแลผู้ป่วย 5 โรคหลักทุกหน่วยบริการ 3.หน่วยบริการมีระบบบริการที่มีคุณภาพ 1.มีมาตรฐานระบบบริการของจังหวัดชลบุรี และCPGตั้งแต่ ตติ ทุติ ปฐมภูมิร้อยละ100 2. CUP มีนวตกรรมบริการ 5 โรคหลัก 3. อัตราการเกิดComplication5 โรคหลักลดลง
เป้าประสงค์ ที่ 4 หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัดได้มาตรฐาน การบริหารจัดการ PMQA พัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทาง - PMQA ในหน่วยบริหาร (สสจ./สสอ.) - HA รพ. - PCA รพ.สต. ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 1.พัฒนากระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ KPI 1.สสจ.และคปสอ.ทุกแห่งผ่านเกณฑ์การบริหารยุทธศาสตร์ตามมาตรฐานร้อยละ 100 2.พัฒนากระบวนการสื่อสารถ่ายทอดกลยุทธ์หลักสู่การปฏิบัติ 2.สสจ.และคปสอ.ทุกแห่งผ่านเกณฑ์กระบวนการถ่ายทอดกลยุทธ์หลักสู่การปฏิบัติ พัฒนาการบริหารยุทธศาสตร๋ทั่วทั้งองค์การ 1.ร้อยละ 100ของสสจ.และคปสอ.ผ่านเกณฑ์การพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ตามมาตรฐาน PMQA สสจ.และคปสอ.ผ่านเกณฑ์การบริหารยุทธศาสตร์ตามมาตรฐาน PMQAหมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์และมีผลลัพธ์บรรลุเป้าหมาย
เป้าประสงค์ ที่ 4 หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัดได้มาตรฐาน การบริหารจัดการ PMQA พัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทาง - PMQA ในหน่วยบริหาร (สสจ./สสอ.) - HA รพ. - PCA รพ.สต. ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 3.พัฒนาระบบการประเมินผลยุทธศาสตร์ให้มีคุณภาพ KPI 3.สสจ.ละคปสอ.ทุกแห่งมีกระบวนการ-ควบคุมกำกับประเมินผลด้านสาธารณสุขที่มีคุณภาพ ครอบคลุมแผนยุทธศาสตร์ แผนปกติ (ขั้นตอนตามSOP) 4.สสจ.และคปสอ.ทุกแห่งมีข้อมูลที่มีคณภาพเพื่อรองรับการตรวจประเมินฯ(ทั้งข้อมูลจาก 21 แฟ้ม และรายงานอื่นที่ไม่มีใน 21 แฟ้ม ) พัฒนาการบริหารยุทธศาสตร๋ทั่วทั้งองค์การ 2ร้อยละผลลัพธ์ของตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่ระดับคะแนน 3 คะแนน สสจ.และคปสอ.ผ่านเกณฑ์การบริหารยุทธศาสตร์ตามมาตรฐาน PMQAหมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์และมีผลลัพธ์บรรลุเป้าหมาย 4. สร้างแรงจูงใจหน่วยงานที่บริหารยุทธศาสตร์ดีเด่น 5. มีคปสอ.ต้นแบบบริหารยุทธศาสตร์ดีเด่นอย่างน้อย 1 แห่ง
เป้าประสงค์ ที่ 4 หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัดได้มาตรฐาน การบริหารจัดการ PMQA พัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทาง - PMQA ในหน่วยบริหาร (สสจ./สสอ.) - HA รพ. - PCA รพ.สต. ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) หน่วยบริการมีคลังข้อมูลสุขภาพที่ได้มาตรฐาน PMQA 1.ร้อยละ100 รพสต.ผ่านเกณฑ์คุณภาพฐานข้อมูล 21&43 แฟ้มมาตรฐาน 2.ร้อยละ 100 รพ.ผ่าน เกณฑ์คุณภาพฐานข้อมูล 12 แฟ้มมาตรฐานและ43&17 แฟ้มมาตรฐาน 1.มีคลังข้อมูลสุขภาพระดับจังหวัด ที่ได้มาตรฐาน PMQA KPI ร้อยละ คปสอ.ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลมาตรฐาน 2.มีคลังข้อมูลสุขภาพระดับอำเภอ สสจ.และคปสอ.ทุกแห่งเป็นศูนย์ข้อมูลสุขภาพ(Data center) และ นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน ติดตามกำกับ และประเมินผล คลังข้อมูลสุขภาพระดับจังหวัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานระบบข้อมูลสารสนเทศตามมาตรฐาน PMQA หมวด 4 ประกอบด้วย - ข้อมูลพื้นฐาน - ข้อมูลสุขภาพ - ข้อมูลสนับสนุนการบริหารจัดการ - ระบบข้อมูลอื่นๆ - การเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายใน กระทรวง สปสช
เป้าประสงค์ ที่ 4 หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัดได้มาตรฐาน การบริหารจัดการ PMQA พัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทาง - PMQA ในหน่วยบริหาร (สสจ./สสอ.) - HA รพ. - PCA รพ.สต. ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome) 1. สสจ.และเครือข่าย มีการบริหารจัดการความรู้ และมีแผนจัดการความรู้ รายยุทธศาสตร์ 2. มี core team KM+วิจัยR2R/นวัตกรรม/เครือข่ายที่ได้รับการพัฒนา KPI - มี R2R/นวัตกรรม แบบมีพี่เลี้ยง - มี KM/การนำเสนอผลงานวิจัย นวัตกรรม 1 ชุดองค์ความรู้รายยุทธศาสตร์(อย่างน้อย 1 องค์ความรู้/ยุทธศาสตร์) 2. งานวิจัยR2R/ นวัตกรรม เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ตามประเด็น ยุทธศาสตร์ สสจ.มีชุดองค์ความรู้/วิจัย R2R/นวัตกรรมที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ รพ./สสอ./รพ.สต.มีวิจัย R2R/นวัตกรรม สสจ.และคปสอ.มีชุดองค์ความรู้/ผลงานวิจัย/นวัตกรรม ไปใช้ประโยชน์(Utilization) สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้(LO/Living org.) -สสจ./คปสอ. มีขุดองค์ความรู้(ผลงานวิจัย /R2R /นวตกรรม)ที่นำไปใช้ในการให้ข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์ละอย่างน้อย 1 เรื่อง
แผนยุทธศาสตร์ องค์การสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี แผนยุทธศาสตร์ คปสอ. แผนยุทธศาสตร์ กลุ่มงาน... แผนยุทธศาสตร์ รพ.ศ./รพช. แผนยุทธศาสตร์ สสอ. การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในแต่ละระดับ Service Plan แผนยุทธศาสตร์ รพ.สต. HRD Plan … Plan
ใช้โอกาสอย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงอุปสรรคหรือลดปัจจัยเสี่ยง แนวทางการประเมินผล งานยุทธศาสตร์ 70:60:50 งานปกติ 30:40:50 + งานยุทธศาสตร์ 70:60:50 งานปกติ 20:30:30 งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย10:10:20 + + คงจะต้องใช้เวทีการเจรจาต่อรองและ พิจารณาตัดสินโดยผู้บริหารว่าควรจะใช้ความเหมาะสมอยู่ที่สัดส่วนเท่าไหร่ ยุทธศาสตร์ คือ การปรับเปลี่ยนตนเอง โดยการแก้ไขปัญหา หรือ พัฒนาซึ่งเป็นการใช้จุดแข็ง/ปิดจุดอ่อนของตัวเองและ ใช้โอกาสอย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงอุปสรรคหรือลดปัจจัยเสี่ยง
แนวทางการประเมิน รอง นพ.สสจ. ตัวชี้วัด งาน+พื้นที่+กลุ่มงาน+ งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย สสอ./ผอ.รพ. ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์องค์การ+งานปกติ หน.กลุ่มงาน ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์องค์การ+ยุทธศาสตร์ สสจ.ชลบุรี+ยุทธศาสตร์กลุ่มงาน+งานปกติ+งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย รายบุคคล ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์องค์การ(ได้เท่ากัน)+ ยุทธศาสตร์ สสจ.ชลบุรี(ได้เท่ากัน)+ยุทธศาสตร์กลุ่ม งาน+งานปกติ+งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
ตัวชี้วัดที่ใช้ในการประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด งานตามยุทธศาสตร์องค์การสาธารณสุข และหน่วยงาน ตัวชี้วัด งานปกติ ตัวชี้วัด งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย การกำหนดตัวชี้วัด มี 3 แบบ 1เชิงปริมาณ = output 2เชิงคุณภาพ = outcome/ ultimateoutcome 3 กระบวนการ ทั้งนี้แต่ละหน่วยงานจะถูกประเมินด้วย ยุทธศาสตร์องค์การ ซึ่งเป็น Policy ของหน่วยเหนือ (จังหวัด) ตัวชี้วัดปกติที่สำคัญและยุทธศาสตร์(งานใหม่/งานที่ต้องพัฒนาของหน่วยงาน) ควรใช้ตัวชี้วัดที่เป็นระดับ เฉพาะการวัดกระบวนการ
ขอเชิญชวน ผู้บริหารหน่วยงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ สื่อสารถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติและการเจรจาต่อรองตัวชี้วัด เพื่อการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ในวันที่ 24 - 25 กันยายน 2555 ณ ห้องประชุมแสนสุข โรงแรมชลอินเตอร์ รายละเอียดของตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ Template และตัวชี้วัดปกติ จะเป็นอย่างไร ขอเชิญร่วมกันพิจารณา และหาข้อตกลงร่วมกันตามกำหนดการ