หัวข้อเรื่อง Bache et al. ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความ เข้มข้นของสารโพลีคลอริเนท ไบฟีนิล (polychlorinated biphenyl, PCB) ในปลาเทร้าอายุ ต่างๆ ที่จับได้ในทะเลสาบคายูก้า (Cayuka lake) ใน มลรัฐนิวยอร์ค เมื่อปี พ. ศ ในการทดลอง ดังกล่าวคณะผู้วิจัยทำการเพาะลูกปลาในแต่ละปีแล้ว ทำเครื่องหมายบนตัวปลาเพื่อให้ทราบอายุที่แน่นอน ระหว่างการทดลอง โดยนำปลาที่จับได้มาหั่น บดเป็น ผง และนำผงปลา 5 กรัมมาวิเคราะห์หาความเข้มข้น ของ PCB ในหน่วยหนึ่งต่อล้านส่วน (ppm) ด้วย เทคนิคโครมาโตกราฟีแบบคอลัมน์ ทั้งนี้ทีมผู้วิจัย เสนอว่าควรใช้แบบจำลองเชิงเส้นตรงที่มีรูปสมการดัง แสดงในสมการ (1.13) ทั้งนี้ฟังก์ชั่น f คือค่า ลอคการิทึมฐานธรรมชาติของความเข้มข้น PCB ส่วน x คือรากที่สามของอายุปลาเทร้า ข้อมูลดิบที่ได้จาก การทดลองแสดงไว้ในตารางที่ 1.1
ข้อมูล การเก็บข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับแนวโน้ม ของข้อมูล
สร้างกราฟโดยที่ยังไม่ใช้โปรแกรม เป็น x-y กราฟ
แบบจำลองเชิงเส้นตรงที่นำมาทดสอบ เป็น รายการลงมา ไม่ควรเกิน 5 แบบจำลอง อาจมีเหตุผลประกอบการเลือก ยกตัวอย่างแบบจำลองที่ทำนายชุดข้อมูลได้ดี ที่สุด อาจจะเทียบกับอันที่ไม่ดีที่สุดด้วยก็ได้ ค่า R-square, RSS, CI 95% ของค่าพารามี เตอร์ แต่ละตัว ทำในรูปของตาราง * กล่าวถึงการทำนายของแบบจำลองที่ได้
Y = beta1*x^(1/2)+beta2*x^2+beta3*ln(x)+beta4*x^( 1/4)+beta5*1+beta6*x^3
Y = beta1*x^(1/4)+beta2*ln(x)+bet a3*x+beta4x^9