การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557 เวทีปฏิรูป TDRI การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557 สมชัย จิตสุชน
ปัญหาเชิงโครงสร้างการคลังไทย โครงสร้างการคลังไม่รองรับอนาคต โครงสร้างรายได้: ฐานภาษีไม่เหมาะสม ฐานการบริโภค > ฐานรายได้ > ฐานทรัพย์สิน (ควรตรงข้าม) โครงสร้างรายจ่าย: ไม่เพียงพอสำหรับอนาคต ไม่พอรองรับสังคม/เศรษฐกิจในอนาคต (สวัสดิการสังคม, โครงสร้างพื้นฐาน) ระบบการคลังไม่โปร่งใส/ไม่เปิดเผย เพียงพอ เกิดความเสี่ยงทางการคลัง (ภาระระยะปาน กลาง/ภาระซ่อนเร้น) แนวโน้มการคลังขาดดุลจากการ เลือกตั้ง ใช้จ่ายระยะสั้น รัฐสภาไม่เข้มแข็งในการตรวจสอบ การใช้งบประมาณ
ความไม่โปร่งใสทางการคลังของไทย เปิดเผยข้อมูลไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะเงินนอก งบประมาณ ขาดการประเมินความเสี่ยงการคลังจาก ‘ภาระการคลังปลายเปิด’ (contingent liability) อย่างครบถ้วนและเหมาะสม ตั้งงบประมาณแบบยืดหยุ่นให้กับฝ่ายบริหาร มากไป (งบกลาง) ครม. อนุมัติรายจ่ายผูกพันก่อนรัฐสภา พิจารณางบประมาณ ซ่อนเร้นภาระการคลัง โดยถ่ายโอนภารกิจการ คลังให้ ธนาคารรัฐ (quasi-fiscal) ภาคเอกชน (เช่นในรูป SPV)
แนวทางปฏิรูปการเงินการคลัง ปฏิรูปการคลังเพื่ออนาคตประเทศ ปฏิรูปภาษี: เพิ่มรายได้ ลดความเหลื่อมล้ำ ปฏิรูปรายจ่าย: เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ ปฏิรูปเพื่อความโปร่งใส/ลดความ เสี่ยงทางการคลัง การทำงบประมาณระยะปานกลาง (3-5 ปี) เปิดเผยข้อมูลการคลังอย่างครบถ้วน โดยมีรายงาน ‘ฉบับประชาชน' การวิเคราะห์การคลังที่เป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร การควบคุมการใช้เงินนอกงบประมาณ เพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำงบประมาณ
รูปธรรมการปฏิรูปการเงินการคลัง เร่งรัด/ปรับปรุง การออก พรบ. การเงินการ คลังของรัฐ พ.ศ...... ออก พรบ. จัดตั้งสำนักงบประมาณประจำ รัฐสภา (Thai PBO) ภายในปี 2557 ปรับปรุงการเปิดเผยข้อมูลการคลังต่อ สาธาณะ ให้รายงานฐานะการคลัง ‘เป็นประจำ’ ที่รวม ในงบประมาณ + นอกงบประมาณ รวมฐานะของหน่วยงานรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินรัฐ การคลังส่วนท้องถิ่น โดยมีบทลงโทษที่ชัดเจนหากหน่วยงานรับผิดชอบไม่เปิดเผย ข้อมูล
รูปธรรมการปฏิรูปการเงินการคลัง (2) เพิ่มข้อจำกัดของการใช้สถาบันการเงินของ รัฐ/เอกชน ในการดำเนินนโยบายการคลัง เช่น กำหนดประเภท/วงเงินของกิจกรรมกึ่งการคลัง กำหนดให้สุดท้ายต้องมีการชดเชยให้สถาบันการเงินของรัฐเต็มจำนวน เพื่อสร้างความโปร่งใสของภาระการคลัง ปรับแก้ กม. เลือกตั้ง ให้การหาเสียงต้องระบุ ‘ต้นทุนการคลัง’ ของนโยบายที่ใช้หาเสียง ต้นทุนของ นโยบายรายจ่าย ต้นทุนของ นโยบายภาษี/รายได้
การจัดทำและเผยแพร่ ‘รายงานงบประมาณฉบับประชาชน’ การจัดทำและเผยแพร่ ‘รายงานงบประมาณฉบับประชาชน’ สำหรับประชาชนอ่านได้ง่าย ใช้ภาษา ‘ชาวบ้าน’ ครอบคลุมเนื้อหาการคลังระยะปานกลาง ภาพรวมเศรษฐกิจมหภาค งบประมาณระยะปานกลาง 3-5 ปี (รายได้ รายจ่าย ดุลงบประมาณ) ประมาณการรายได้ภาครัฐ ต้นทุนการคลังของ ‘นโยบายใหม่ที่สำคัญ’ ผลกระทบต่อ ‘สาขาเศรษฐกิจ’ ของนโยบายการคลังโดยรวมและ ‘นโยบายใหม่ที่สำคัญ’ เผยแพร่พร้อมเอกสารงบประมาณสำหรับ สมาชิกรัฐสภา (3 เดือนก่อนปีงบประมาณ เริ่ม)
ข้อเสนอ การจัดตั้งสำนักงบประมาณประจำรัฐสภา Thai Parliamentary Budget Office Thai PBO
พรบ. การจัดตั้ง Thai PBO ให้เป็นหน่วยงานวิเคราะห์ด้านการคลังที่เป็น อิสระจากฝ่ายบริหาร การแต่งตั้งผู้บริหารไม่ขึ้นกับฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) มีความรับผิดชอบต่อฝ่ายนิติบัญญัติและ สาธารณะโดยรวม มีหน้าที่ทำการวิเคราะห์ ภาพรวมเศรษฐกิจมหภาค ฐานะการคลังภาครัฐโดยรวม ต้นทุนการคลังของมาตรการที่สำคัญ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของมาตรการที่สำคัญ ต้องเป็นกลางทางการเมือง ไม่ฝักใฝ่พรรค การเมือง มีบุคลากรและได้รับงบประมาณเพียงพอ มีอำนาจตามกฏหมายในการเข้าถึงข้อมูลการ คลังทุกประเภท