การป้องกันกำจัด  เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุด ทำลายตอยางเก่า  ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดิน แล้วควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อ ปรับสภาพดินให้เหมาะกับการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
CITRUS NUTRITION SOLUTIONS ปัญหาผลร่วง : 1. ระหว่างระยะเติบโตของผล  การให้ปุ๋ยที่ถูก, การให้ปุ๋ยทางใบจะช่วยแก้ความไม่สมดุลได้เร็วขึ้น  ปรับปรุงความสมบูรณ์ของต้นจะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
นำปุ๋ยคอกบรรจุในกระสอบปุ๋ยจนเต็มกระสอบ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
การปลูกพืชผักสวนครัว
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การเจริญเติบโตของพืช
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ประเภทและวิธีการ การขยายพันธุ์พืช ( PLANT PROPAGATION )
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
หญ้าแฝกพืชมหัศจรรย์ นำเสนอโดย กลุ่มสัตว์ปีก.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันกำจัด  เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุด ทำลายตอยางเก่า  ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดิน แล้วควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อ ปรับสภาพดินให้เหมาะกับการ เจริญเติบโตของพืช และจุลินทรีย์ในดิน ที่เป็นพิษต่อเชื้อราสาเหตุโรคราก  หลังการปลูกยางไปแล้ว 1 ปี ควรตรวจ ค้นหาต้นยางที่เป็นโรครากเป็นประจำ เมื่อพบต้นเป็นโรค ควรขุดทำลายและ รักษาต้นข้างเคียงโดยการใช้สารเคมี

 เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุดทำลาย ตอยางเก่า  ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดินแล้วควร ปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อปรับสภาพดินให้ เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช และ จุลินทรีย์ในดินที่เป็นพิษต่อเชื้อราสาเหตุโรค ราก

 หลังการปลูกยางไปแล้ว 1 ปี ควรตรวจค้นหา ต้นยางที่เป็นโรครากเป็นประจำ เมื่อพบต้นเป็น โรค ควรขุดทำลายและรักษาต้นข้างเคียงโดย การใช้สารเคมี 

การป้องกันกำจัด  ต้นยางที่มีอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป ควร ขุดคูล้อมบริเวณต้นโรค เพื่อกั้นระหว่าง ต้นที่เป็นโรคและต้นปกติ ไม่ให้ราก สัมผัสกัน  ไม่ควรปลูกพืชร่วม หรือพืชแซมที่เป็น พืชอาศัยในพื้นที่ที่เป็นโรคราก  ใช้สารเคมีสำหรับรักษาต้นที่เป็นโรค เพียงเล็กน้อย และใช้กับต้นข้างเคียง เพื่อป้องกันโรค เช่น ไตรเดอร์มอร์ฟ (tridemorph), ไซโปรโคนาโซล (cyproconazole), โปรปิโคนาโซล (propiconazole), เฮกซะโคนาโซล (hexaconazole), เฟนิโคลนิล (feniclonil)

 ต้นยางที่มีอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป ควรขุดคู ล้อมบริเวณต้นโรค เพื่อกั้นระหว่างต้นที่เป็น โรคและต้นปกติ ไม่ให้รากสัมผัสกัน  ไม่ควรปลูกพืชร่วม หรือพืชแซมที่เป็นพืช อาศัยในพื้นที่ที่เป็นโรคราก

 ใช้สารเคมีสำหรับรักษาต้นที่เป็นโรคเพียง เล็กน้อย และใช้กับต้นข้างเคียง เพื่อป้องกัน โรค เช่น ไตรเดอร์มอร์ฟ (tridemorph), ไซโปร โคนาโซล (cyproconazole), โปรปิโคนาโซล (propiconazole), เฮกซะโคนาโซล (hexaconazole), เฟนิโคลนิล (feniclonil)