บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
พาราโบลา (Parabola).
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ความเท่ากันทุกประการ
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
ระบบอนุภาค.
Function and Their Graphs
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
Quadratic Functions and Models
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
บทเรียนเพาเวอร์พอยท์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
เรขาคณิต อาจารย์ อติชาต เกตตะพันธุ์ 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2551
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วงรี ( Ellipse).
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน Derivative of function
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
กิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ( อพ. สธ.)
นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
Spherical Trigonometry
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
พาราโบลา (Parabola).
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

เนื้อหาในบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเรขาคณิตวิเคราะห์ เส้นตรง วงกลม พาราโบลา วงรี ไฮเพอร์โบลา www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

ความรู้พื้นฐานเรขาคณิตวิเคราะห์ ระบบพิกัดฉาก (Rectangular coordinate system) เส้นจำนวนสองเส้นที่ตั้งฉากกันบนระนาบเดียวกันที่จุด 0 เส้นจำนวนสองเส้นนี้จะเรียกว่า แกนโคออดิเนต โดยเส้นจำนวนที่อยู่ในแนวนอน จะเรียกว่า แกน X (X-axis) และเส้นจำนวนที่อยู่ในแนวดิ่งจะเรียกว่า แกน Y (Y-axis) โดยจุดที่แกน x และ แกน y ตัดกันจะเรียกว่า จุดกำเนิด (origin point) แกน Y จุดกำเนิด แกน X www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

แกนโคออดิเนตจะแบ่งระนาบออกเป็น 4 ส่วน ซึ่งเรียกว่า 4 จตุภาค (quadrant) จตุภาค 2 ( -,+) จตุภาค1 (+,+) แกนโคออดิเนตจะแบ่งระนาบออกเป็น 4 ส่วน ซึ่งเรียกว่า 4 จตุภาค (quadrant) จตุภาค 3 (- ,-) จตุภาค 4 (+,-) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

พิกัด x คือระยะที่จุดอยู่ห่างจากแกน y ในการระบุตำแหน่งในระบบพิกัดจะแทนด้วย พิกัด x และ พิกัด y สัญลักษณ์ (x,y) x . A(x, y) y พิกัด x คือระยะที่จุดอยู่ห่างจากแกน y พิกัด y คือระยะที่จุดอยู่ห่างจากแกน x www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

จงระบุตำแหน่งของจุดต่อไปนี้บนระนาบพิกัดฉาก A(1,3) B(2,-1) C(-2,2) และ D(-1,-2) . (1,3) (-2,2) . (2,-1) (-1,-2) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด กำหนดจุด A(x1,y1) และ B(x2,y2) เราสามารถหาระยะห่างของจุดสองจุดได้โดยอาศัยทฤษฏีบทปิทาโกรัส ลากเส้นผ่านจุด A ในขนานกับแกน x และลากเส้นผ่านจุด B ขนาดกับแกน y เส้นทั้งสองตัดกันที่จุด C ซึ่งมีพิกัด (x2,y1) โดย BC = y2-y1 และ AC = x2 - x1 พิจารณาสามเหลี่ยม ABC โดยทบ.ปิทาโกรัส จะได้ว่า C(x2,y1) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

Example 1 จงหาความยาวของส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมจุด P(-1,3) และ Q(3,5) วิธีทำ Q P หน่วย www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

จุดแบ่งส่วนของเส้นตรง กำหนดให้ A(x0,y0) เป็นจุดแบ่งของส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุด P(x1,y1) และ Q(x2,y2) โดยมีอัตราส่วน PA:AQ=m:n ลากเส้นตรงขนานกับแกน Y และผ่านจุด Q และ A ลากเส้นตรงขนานกับแกน X และผ่านจุด P และ A Q(x2,y2) เส้นขนานตัดกันที่จุด B , C และ D A(x0,y0) B(x2,y0) โดยมีพิกัด (x2,y0) , (x2,y1) และ (x0,y1) ตามลำดับ จาก ADP QBA จะได้ว่า P(x1,y1) D(x0,y1) C(x2,y1) พิจารณา www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

พิจารณา เพราะฉะนั้น www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

Example 2 จงหากึ่งกลางของส่วนของเส้นตรง P(-2,0) และ Q(3,4) A(x0,y0) ดังนั้น PA : AQ = 1:1 จะได้ว่า Q A(x0,y0) P www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

Example 3 กำหนดส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมจุด P(1,2) และ Q(6,7) โดยจุด A แบ่ง PQ ออกเป็นอัตราส่วน PA:AQ=2:3 จงหาพิกัดของจุด A วิธีทำ Q กำหนดให้ เป็นจุดแบ่งของ PQ A(x0,y0) A โดยมีอัตราส่วน PA : AQ = 2:3 จะได้ว่า P www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

การเลื่อนขนาน การเลื่อนขนานเป็นการเลื่อนพิกัดฉากกับแกนอ้างอิงระบบมุมฉากสองชุด คือระนาบ XY และ ระนาบX’Y’ ระนาบ XY จะมีจุดกำเนิด คือ จุด (0,0) ระนาบ X’Y’ จะมีจุดกำเนิด คือ จุด (h,k) Y’ X’ (h,k) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

การเลื่อนขนาน ถ้าให้แกนอ้างอิงระบบพิกัดฉาก XY เลื่อนขนานไปที่จุด (h,k) จุด P(x,y) ในแกนระบบพิกัด XY เมื่อเทียบกับแกนระบบพิกัด X’Y’ จะเป็นจุด P’(x’,y’) โดยที่ x’=x-h และ y’=y-k (h,k) X’ P(x,y) P’(x’,y’) ระบบพิกัด X’Y’ มีจุดกำเนิด O’(0,0) แต่จะเป็นจุด (h,k) ในระบบพิกัด XY แล้วจุด P จะมีพิกัด (x’,y’) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi 14

กำหนดจุด P (x,y) ในแกนพิกัด XY เมื่อเลื่อนขนานจุดไปยังระบบพิกัด X’Y’ แล้ว จุด P(x,y) ในแกนพิกัด XY จะเท่ากับ P’(x,y) ในแกนพิกัด X’Y ‘ หรือเท่ากับ P’’(x+h,y+k) ในแกนพิกัด XY X’ (h,k) P’(x’,y’) P(x,y) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

Example 2 จงเลื่อนขนานจุดยอดของสามเหลี่ยมคือ A(-1,2) B(1,-4) และ C(2,3) จากระบบพิกัดฉากที่มีจุดกำเนิดที่ (0,0) ไปยังระบบพิกัดฉากที่มีจุดกำเนิดที่ (3,2) วิธีทำ จากโจทย์ (h,k) = (3,2) พิกัด P(x,y) = P’(x-h,y-k) A B C จุด A(-1,2) บนระบบแกน XY จะเป็นจุด A’(-1-3,2-2)=(-4,0) บนระบบแกน X’Y’ จุด B(1,-4) บนระบบแกน XY (h,k) จะเป็นจุด B’(1-3,-4-2)=(-2,-2) บนระบบแกน X’Y’ จุด C(2,3) บนระบบแกน XY จะเป็นจุด C’(2-3,3-2)=(-1,1) บนระบบแกน X’Y’ www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

Example 2 จงเลื่อนขนานจุดยอดของสามเหลี่ยมคือ A(-1,2) B(1,-4) และ C(2,3) จากระบบพิกัดฉากที่มีจุดกำเนิดที่ (0,0) ไปยังระบบพิกัดฉากที่มีจุดกำเนิดที่ (3,2) จุด A(-1,2) ระบบแกน XY A B C จะเลื่อนไปเป็นจุด A’’(-1+3,2+2)=(2,4) จุด B(1,-4) ระบบแกน XY จะเลื่อนไปเป็นจุด B’’(1+3,-4+2)=(4,-2) (h,k) จุด C(2,3) ระบบแกน XY จะเลื่อนไปเป็นจุด C’’(2+3,3+2)=(5,5) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi

Example 3 จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ (2,4) พิจารณาสมการ จะได้ว่า กราฟ เป็นการเลื่อนขนาน ไปยังระบบพิกัดฉากที่มีจุดกำเนิด (2,4) www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi