แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย
ทบทวนการให้รหัสICD-10TM For PCU
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์
Management of Pulmonary Tuberculosis
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
องค์ประกอบที่ 5 และ 7.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
VDO conference dengue 1 July 2013.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
GDM and Cervical cancer screening
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.

โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพ
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่ PCU และ รพ.สต. โรงพยาบาลจะส่งผู้ป่วยเบาหวานไปรับการรักษาต่อที่ รพ.สต. และPCU ในกรณีนี้ 1. ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน ได้รับการตรวจร่างกายเพื่อประเมินความเสี่ยง ตามมาตรฐานครบถ้วน ตา ไต เท้า ฟัน และตรวจ Lab ครบตามเกณฑ์ ไม่พบภาวะแทรกซ้อน Lab มาตรฐานประกอบด้วย -Fasting blood glucose -HbA1C -Cholesterol , Triglyceride , HDL , LDL -Serum creatinine ประเมินค่า Estimated GFR ( eGRF ) โดยคำนวณด้วยสูตร CKD-EPI -ตรวจปัสสาวะจาก Urine dipstick เพื่อตรวจหา Proteinuria -ถ้า urine dipstick : negative for proteimuri ควรส่งตรวจ spot urine for microalbuminuria 2. ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาล < 160 mg/dl ต่อเนื่อง 3 visit 3. ผู้ป่วยที่ใช้ยาประเภทยารับประทานเท่านั้น 4. ผู้ป่วยมีความจำเป็นในการไปขอรับยาที่สถานีอนามัย/มาไม่ได้ (ตามดุลยพินิจของแพทย์ที่รักษา )

แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานกลับไป พบแพทย์ที่โรงพยาบาล รพ.สต. และ PCU จะส่งผู้ป่วยโรคเบาหวานไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล เมื่อพบปัญหาตามรายการข้างล่างนี้ต้องส่งผู้ป่วยพบแพทย์พร้อมแจ้งปัญหาที่เกิดขึ้น 1. ควบคุมเบาหวานไม่ได้ตามเป้าหมาย -DTX < 70 mg/dl มีภาวะ Hypoglycemia บ่อยไม่ทราบสาเหตุ -DTX > 200 mg/dl ติดต่อกันมากกว่า 2 ครั้ง ( นัดห่างกัน 2 สัปดาห์ ) -DTX > 200 mg/dl และมีภาวะอื่นร่วมด้วย DKA อาการหอบ -DTX > 300 mg/dl ติดต่อกันมากกว่า 2 ครั้ง (นัดห่างกัน 1 สัปดาห์) ถ้าครั้งที่ 2 > 200 mg/dl ก็ส่ง -DTX > 400 mg/dl ส่งเลย 2. มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ที่สงสัยว่ามีภาวะหัวใจขาดเลือด 3. มีอาการหน้ามืดเป็นลมโดยไม่ทราบสาเหตุ 4. มี Vital Sign ผิดปกติ 5. มีภาวะแทรกซ้อนที่จำเป็นต้องส่งต่อเพื่อพบแพทย์ -มีแผลเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ, หนังเน่า -มีอาการตามัว -ปัสสาวะน้อย ปัสสาวะเป็นฟอง -ขาบวม บวมตามตัว 6. ภาวะตั้งครรภ์ 7. นัดติดตามหรือตรวจสุขภาพประจำปี รวมพบแพทย์ 1 ครั้งต่อปี

แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงไปรับการรักษาที่ PCU และ รพ.สต. 1. ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจร่างกายเพื่อประเมินความเสี่ยง ตามมาตรฐานครบถ้วน เบาหวาน ไต และตรวจ Lab ครบตามเกณฑ์ ไม่พบภาวะแทรกซ้อนหรือตามดุลยพินิจของแพทย์ Lab มาตรฐานประกอบด้วย -Fasting blood glucose -ตรวจปัสสาวะดู Protien, Sugar -Cholesterol , Triglyceride , LDL ให้ยึดหลักดังนี้ 1. มี CHD 2. มีประวัติ DM หรือปัจจัยเสี่ยง 2 ข้อดังนี้ -สูบบุหรี่ -ความดันโลหิตสูง ( BP ≥ 140/90 mmHg หรือกำลังกินยาลด ความดันโลหิตสูงอยู่ ) -มีประวัติครอบครัวเป็นโรค CHD , CVA -อายุ ชาย ≥ 55 ปี , หญิง ≥ 65 ปี 2. ผู้ป่วยมี BP < 140/90 mmHg ต่อเนื่อง 3 visit 3. ผู้ป่วยมีความจำเป็นในการไปขอรับยาที่สถานีอนามัย/มาไม่ได้ ( ตามดุลยพินิจของ แพทย์ที่รักษา )

แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลับไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล รพ.สต.และ PCU จะส่งผู้ป่วยไปพบแพทย์ เมื่อพบปัญหาตามรายการข้างล่างนี้ ต้องส่งผู้ป่วยพบแพทย์พร้อมแจ้งปัญหาที่เกิดขึ้น 1. มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ที่สงสัยว่ามีภาวะหัวใจขาดเลือด 2. มีอาการหน้ามืดเป็นลมโดยไม่ทราบสาเหตุ 3. มี Vital Sign ผิดปกติ 4. ความดันโลหิตสูง > 180/110 mmHg หรือในผู้ป่วยที่มีประวัติรับการรักษาโรคความดันโลหิตสูงมาก่อนพบ systolic BP > 140 mmHg และหรือ diastolic BP > 90 mmHg ( โดยวิธีมาตรฐาน ติดต่อกัน 2 visit 5. มีภาวะแทรกซ้อนที่จำเป็นต้องส่งต่อเพื่อพบแพทย์ -ปัสสาวะน้อย ปัสสาวะเป็นฟอง -ขาบวม บวมตามตัว 6. ภาวะตั้งครรภ์ 7. นัดติดตามหรือตรวจสุขภาพประจำปี รวมพบแพทย์ 1 ครั้งต่อปี