เทคโนโลยี การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การสนทนาอย่างสร้างสรรค์
กระบวนการและเทคนิค การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การมีส่วนร่วม ของชุมชน. 1. อะไรคือการมีส่วนร่วม 2. การมีส่วนร่วมสำคัญ อย่างไร 3. ประโยชน์ของการมีส่วนร่วม 4. ระดับของการมีส่วนร่วม 5. เทคนิคที่นิยมใช้ในการ.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
Participation : Road to Success
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
เราเป็นผู้นำ.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยี การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี (Technology Of Participation : TOP) ผศ.ดร. วิรัติ ปานศิลา และคณะ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มาจากไหน....ไม่สำคัญ เราจะมาจากไหน จะเป็นใคร นั้นไม่สำคัญ ยินดีที่มาพบกัน (ซ้ำ) ร่วมสร้างสรรค์ เรียนรู้เรื่องราว ทางสายยาว ผูกเกลียวสัมพันธ์ ร่วมสร้างสรรค์ สังคมดีงาม มาจากไหน....ไม่สำคัญ

1. การมีส่วนร่วมของประชาชน คืออะไร ? 2. รู้สึกอย่างไรกับการมีส่วนร่วมของประชาชน? 3. การมีส่วนร่วมของประชาชน มีความหมายหรือความสำคัญอย่างไร ? 4. จะทำอะไรกับการมีส่วนร่วมของประชาชน ?

ท่านคิดว่าการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายความถึงอะไร กระบวนการที่ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีโอกาสได้เข้าร่วมใน การรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา

ทำไมต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม ภาคสังคมและประชาชนมีการพัฒนาและเรียกร้องสิทธิ ในการรับรู้ ตัดสินใจ และมีส่วนร่วม หลักการบริหารราชการแนวใหม่ที่ระบบราชการทั่วโลกตระหนักถึงความสำคัญ เริ่มได้บทเรียนและเรียนรู้จากการสูญเสีย แสวงหารูปแบบและนำไปประยุกต์ใช้ สังคมไทยและคนไทยพัฒนาสู่สังคมประชาธิปไตยยุคใหม่

หลักการเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน เริ่มมาจากบทเรียนในการพัฒนาชุมชนชนบท ความล้มเหลวของการพัฒนาที่ไม่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนและการพัฒนาแบบสั่งการ มีบทเรียนและประสบการณ์จากการพัฒนาในอดีต กระแสความคิดของนักวิชาการในประเทศและในระดับสากล ยุคหลังการพัฒนาเน้นประชาชนในชุมชนเป็นเป้าหมายสำคัญของขับเคลื่อนการพัฒนา การมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Participation) จึงเป็นประเด็นสำคัญในการพัฒนาสังคม/ชุมชน

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา คือ กระบวนการที่เชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ และภาคีอื่นๆ นอกภาครัฐ เช่น ธุรกิจเอกชน ประชาชน ชุมชน และองค์กรต่างๆ ให้ได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ และ ร่วมแรงร่วมใจในการพัฒนา เพราะ “การพัฒนาที่ทรงพลังและยั่งยืนในสังคมประชาธิปไตยเกิดจากการพัฒนาที่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนได้ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมแรงร่วมใจในการดำเนินการ และร่วมรับประโยชน์จากการพัฒนา”

คำถามสำคัญสำหรับการบริหารราชการแผ่นดินสมัยใหม่ “ประชาชนโดยรวมควรมีสิทธิและหน้าที่ในการเข้าร่วมใน ภารกิจของภาครัฐ และกิจการสาธารณะในระดับใด”

การมีส่วนร่วมของประชาชนสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน 1. มีส่วนร่วมให้ความ คิดเห็นและวางแผน 4. มีส่วนร่วมใน การติดตามตรวจสอบ 5. มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ โครงการพัฒนา 2. มีส่วนร่วมในการเลือก และตัดสินใจ 3. มีส่วนร่วมใน การดำเนินงาน

ข้อค้นพบและผลจากการศึกษา การมีส่วนร่วมของประชาชนและการพัฒนา การสร้างการมีส่วนร่วมเป็นงานสำคัญและละเอียดอ่อน บทบาทของนักพัฒนาในการสร้างการมีส่วนร่วม นักพัฒนาต้องเข้าใจและสามารถนำเทคนิคต่างๆ ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม บทบาทของประชาชนในชุมชน ต้องยอมรับและเปิดกว้างในการที่ประชาชนในภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา

ระดับของการมีส่วนร่วม - ก.พ.ร. ระดับของการมีส่วนร่วม - ก.พ.ร. มอบอำนาจการติดสินใจ (Empower) ร่วมคิดร่วมตัดสินใจ (Collaborate) มีส่วนเกี่ยวข้อง (Involve) ร่วมปรึกษาหารือ (Consult) ร่วมให้ข้อมูล ข่าวสาร (Inform) ร่วมตรวจสอบ รู้ ให้ความเห็น ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ

เทคโนโลยี การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี (Technology Of Participation : TOP)

องค์ประกอบที่ต้องใช้ ผู้เอื้อกระบวนการกลุ่ม (Facilitator) กฎ/กติกาของกลุ่ม อุปกรณ์ กระดาษ ฟลิบชาร์ต กระดาษกาวย่น/วิธีการม้วนและติดกระดาษ บัตรความคิด ปากกาเคมี กระดานหรือผนังสำหรับติดกระดาษ

กฎ/กติกากลุ่ม ทุกความคิดมีคุณค่า ไม่ฆ่าความคิดใคร ไม่มีความคิดใดผิดถูก ยอมรับความคิดของกันและกัน เขียนบัตรความคิดทุกคน 1 หนึ่งคน 1 บัตรความคิด เขียนตัวโตๆ อ่านง่าย ชัดเจน มีความหมาย เป็นคำหรือวลีก็ได้ รักษากติกา/รักษาเวลา

เทคนิคพื้นฐาน ของผู้เอื้อกระบวนการกลุ่ม 1. วิธีการถกปัญหา (Discussion (ORID) Method) 2. วิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop Method) 3. วิธีการวางแผนปฏิบัติการ (Action Planning Method)

1.วิธีการถกปัญหา (ORID Method) bjective Level (ระดับวัตถุวิสัย) ให้ข้อเท็จจริงและข้อมูล ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าประสาทการรับรู้---มองเห็น ได้ยิน รู้สึก ลิ้มรส สัมผัส O อะไรนะ ? eflective Level (ระดับไตร่ตรอง) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าหัวใจ : อารมณ์ ความจำ การเกี่ยวโยง R ความรู้สึก! nterpretative Level (ระดับการตีความ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าความรู้สึกนึกคิด : ความหมาย ค่านิยม และนัยสำคัญ I แล้วไงล่ะ? ecisional Level (ระดับตัดสินใจ) “เราจะดำเนินการในหมู่พวกเราอย่างไรเพื่อการแก้ไขแผน?” “เราจะทำร่างแรกของแผนที่แก้ไขใหม่ของเราเพื่อส่งมอบให้สภา และพิจารณา ได้เมื่อไหร่” D แล้วจะเอายังไง?

วิธีการถกปัญหา O R Bjective Level (ระดับวัตถุวิสัย) ให้ข้อเท็จจริงและข้อมูล ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าประสาทการรับรู้---มองเห็น ได้ยิน รู้สึก ลิ้มรส สัมผัส O อะไรนะ ? eflective Level (ระดับไตร่ตรอง) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าหัวใจ : อารมณ์ ความจำ การเกี่ยวโยง R ความรู้สึก!

วิธีการถกปัญหา I D nterpretative Level (ระดับการตีความ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าความรู้สึกนึกคิด : ความหมาย ค่านิยม และนัยสำคัญ I แล้วไงล่ะ? ecisional Level (ระดับตัดสินใจ) “เราจะดำเนินการในหมู่พวกเราอย่างไรเพื่อการ แก้ไขแผน?” “เราจะทำร่างแรกของแผนที่แก้ไขใหม่ของเราเพื่อ ส่งมอบให้สภาและพิจารณา ได้เมื่อไหร่” D แล้วจะเอายังไง?

2.วิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop Method) ห้าขั้นตอนสำคัญ สถานการณ์ (บริบท) ระดมความคิด จัดกลุ่ม หัวข้อ (ตั้งชื่อ) ไตร่ตรอง

Action Planning Mehtod เจ็ดขั้นตอนสำคัญ 3.วิธีการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม Action Planning Mehtod เจ็ดขั้นตอนสำคัญ 1. สถานการณ์ (บริบท) 2. หัวใจแห่งชัยชนะ (จินตนาการ) 3. สิ่งที่เกิดขึ้นจริง 4. พันธกิจ (สัญญาใจ) 5. ปฏิบัติการสำคัญ (ภารกิจหลัก) 6. ปฏิทินกิจกรรมและความรับผิดชอบ 7. การไตร่ตรอง

รูปแบบภาวะผู้นำที่เหมาะสม แบบดั้งเดิม แบบเอื้ออำนวย ยึดถือ มุมมองหลากหลาย การใช้อำนาจ จะทำอะไร รู้ว่า จะไปถึงได้อย่างไร (วิธีการ) แสวงหา มติที่ถูกต้อง มติร่วมกัน ของทุกคน ความเก่ง ของแต่ละคน พึ่งพา ความเก่งของกลุ่ม

ค่านิยมพื้นฐาน ของผู้นำแบบเอื้ออำนวย การมีส่วนร่วม การเห็นพ้องร่วมกัน การทำงานเป็นทีม การไตร่ตรอง การสร้างสรรค์ การนำไปปฏิบัติ

จะเป็นใคร นั้นไม่สำคัญ ยินดีที่มาพบกัน (ซ้ำ) เราจะมาจากไหน จะเป็นใคร นั้นไม่สำคัญ ยินดีที่มาพบกัน (ซ้ำ) ร่วมสร้างสรรค์ เรียนรู้เรื่องราว ทางสายยาว ผูกเกลียวสัมพันธ์ ร่วมสร้างสรรค์ สังคมดีงาม มาจากไหน....ไม่สำคัญ