หัวข้อการบรรยาย การวางแผนทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Statement of Cash Flows
Revision Problems.
Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 4 งบการเงิน.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
สินค้าคงเหลือ.
การจัดทำแผนธุรกิจ.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ต้นทุนการผลิต.
1.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Creative Accounting
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางแผนทางการเงิน

หัวข้อการบรรยาย การวางแผนทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ 1. การเคลื่อนไหวของกระแสเงินสด 2. การหาแหล่งที่มาของเงินทุน 3. การใช้เงินทุนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4. การมีวินัยทางการเงิน 5. การลงทุนเมื่อมีกระแสเงินสดส่วนเกินในกิจการ การวางแผนทางการเงินเพื่อพิชิตใจธนาคาร

หัวข้อการบรรยาย การวางแผนทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ 1. การเคลื่อนไหวของกระแสเงินสด 2. การหาแหล่งที่มาของเงินทุน 3. การใช้เงินทุนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4. การมีวินัยทางการเงิน 5. การลงทุนเมื่อมีกระแสเงินสดส่วนเกินในกิจการ การวางแผนทางการเงินเพื่อพิชิตใจธนาคาร

1. การเคลื่อนไหวของกระแสเงินสดของกิจการ บันทึกรายรับและรายจ่าย เพื่อใช้พยากรณ์ความต้องการใช้เงินสด และทำให้ทราบถึงปริมาณเงินสดส่วนเกิน เพื่อนำไปลงทุนต่อให้ได้ผลตอบแทนสูงสุด กระแสเงินสดรับ เงินรับจากการขายสินค้าให้ผู้ซื้อ ช่องทางการรับเงิน เช่น บริการเครื่องรับรูดบัตร (เครื่อง EDC), การโอนเงินผ่านช่องทาง Electronic ต่างๆ กระแสเงินสดจ่าย ชำระค่าสินค้าแก่คู่ค้า ชำระคืนเงินกู้แก่เจ้าหนี้ และค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจการต่างๆ เช่น ค่าจ้างพนักงาน และค่าสาธารณูปโภคต่างๆ ช่องทางการชำระเงิน เช่น การตัดบัญชีอัตโนมัติ การชำระผ่านช่องทาง Electronic ต่างๆ ***ธนาคารให้ความสำคัญกับกระแสเงินสดของกิจการเป็นอย่างมาก เพราะกระแสเงินสดเป็นที่มาของการชำระหนี้ที่สำคัญที่สุด***

2. การหาแหล่งที่มาของเงินทุน เงินทุน ส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้ เงินกู้ยืมจากธนาคาร แบ่งเป็น เงินทุนหมุนเวียน (Working Capital) ใช้หมุนเวียนในธุรกิจ เพื่อบริหารสภาพคล่องระยะสั้น วงเงินเบิกเกินบัญชี (O/D) อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MOR วงเงินตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MLR และ MRR เงินกู้ระยะกลางถึงระยะยาว (Medium or Long Term Loan) การกู้ยืมที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจนอื่นๆ เช่น สินเชื่อ Leasing หรือสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ เพื่อใช้ในกิจการ

2. การหาแหล่งที่มาของเงินทุน ข้อดี ข้อจำกัด แหล่งเงินทุนประเภททุน ไม่ต้องมีหลักประกัน / การค้ำประกัน จ่ายเงินปันผลเมื่อมีกำไรเท่านั้น ไม่มีอิสระในการตัดสินใจทางธุรกิจ, ต้องเปิดเผยข้อมูลทั้งหมดแก่ผู้ถือหุ้น แหล่งเงินทุนประเภทเงินกู้ ไม่เสียความเป็นเจ้าของ, มีอิสระในการตัดสินใจทางธุรกิจ และไม่จำเป็นต้องเปิดเผยข้อมูลมาก ผลตอบแทนที่ธนาคารต้องการ (ดอกเบี้ยจ่าย) ต่ำกว่าที่ผู้ถือหุ้นต้องการ ส่วนใหญ่ต้องมีหลักประกัน / การค้ำประกัน ธุรกิจใหม่ขออนุมัติเงินกู้ลำบาก เนื่องจากธนาคารไม่ชอบความเสี่ยงสูง การจ่ายดอกเบี้ยต้องจ่ายตามกำหนด

2. การหาแหล่งที่มาของเงินทุน – หลักประกันเงินกู้ ประเภทหลักประกันที่ธนาคารรับเป็นหลักประกัน เงินสด ในรูปของเงินฝากที่มีอยู่กับธนาคาร พันธบัตรรัฐบาล และรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ที่มีอันดับที่น่าลงทุนขั้นไป (Investment Grade) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง การค้ำประกันจากบริษัท กรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นบริษัท และบุคคลอื่น ซึ่งมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง คุณสมบัติของหลักประกันที่ธนาคารพิจารณา ธนาคารต้องมีบุริมสิทธิเหนือหลักประกัน ราคาหลักประกัน (ต้องสามารถประเมินได้อย่างโปร่งใสและยุติธรรม) สภาพคล่องของหลักประกัน (ต้องเป็นที่ต้องการของตลาด มีตลาดรองรับเพื่อขายแปลงสภาพ และมีความผันผวนของราคาต่ำ) ต้องครอบคลุมระยะเวลาการกู้ยืม ***หลักประกัน ไม่ใช่เหตุผลหลักที่ธนาคารพิจารณาตัดสินใจอนุมัติเงินกู้ แต่เป็นเพียงสิ่งที่จะช่วยชดเชยความเสียหายของธนาคารที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตเท่านั้น*** ***หลักประกัน ไม่ใช่เหตุผลหลักที่ธนาคารพิจารณาตัดสินใจอนุมัติเงินกู้ แต่เป็นเพียงสิ่งที่จะช่วยชดเชยความเสียหายของธนาคารที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตเท่านั้น***

เงินทุนส่วนตัว ผลตอบแทน 10% 2. การหาแหล่งที่มาของเงินทุน – หลักประกันเงินกู้ ลงทุน 10,000 บาท ผลตอบแทน 1,000 บาท เงินทุนส่วนตัว ผลตอบแทน 10% ใช้แหล่งเงินทุนอื่น 3,000 ดอกเบี้ย 150 บาท ผลตอบแทน 850/7,000 = 12% ใช้แหล่งเงินทุนอื่น 7,000 ดอกเบี้ย 350 บาท ผลตอบแทน 650/3,000 = 22%

3. การใช้เงินทุนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เงินทุนหมุนเวียน ใช้เพื่อหมุนเวียนในธุรกิจ และบริหารสภาพคล่องระยะสั้นเท่านั้น เงินกู้ระยะกลางถึงระยะยาว ใช้เพื่อการลงทุนเพื่อขยายกิจการ ซึ่งมีระยะเวลาคืนทุนค่อนข้างยาว เช่น การสร้างอาคารสำนักงาน การสร้างคลังสินค้า การลงทุนซื้อรถยนต์เพื่อการกระจายสินค้า ข้อดีจากการใช้เงินทุนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีเงินทุนหมุนเวียนในกิจการเพียงพอต่อความต้องการ มีระยะเวลาการผ่อนชำระคืนเงินกู้ที่สอดคล้องกับรายรับจากการลงทุน ต้นทุนทางการเงินต่ำ

4. การมีวินัยทางการเงิน การชำระค่าสินค้าและบริการแก่คู่ค้า ตรงตามกำหนดเวลา การจ่ายชำระดอกเบี้ยและต้นเงิน แก่เจ้าหนี้ตามกำหนดเวลา การจัดส่งเอกสารทางการเงิน เช่น งบการเงิน รายงานการเดินบัญชีแก่ธนาคาร เพื่อประกอบการพิจารณาทบทวนและต่ออายุวงเงินประจำปี (ตามกฎธนาคารแห่งประเทศไทย) การไม่ใช้เงินกระแสเงินสดของกิจการผิดวัตถุประสงค์หลักของกิจการ เช่น ใช้ซื้อสินค้าคงทนที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรือลงทุนส่วนตัว

5. การลงทุนเมื่อมีกระแสเงินสดส่วนเกินในกิจการ ประเภทของการลงทุน (เรียงลำดับจากเสี่ยงน้อยไปมาก) พันธบัตรรัฐบาล เงินฝากออมทรัพย์ออมทรัพย์ เงินฝากประจำ กองทุนรวม เช่น K-Treasury หรือ K-Money ตลาดหุ้น ข้อควรระวังในการลงทุน ความเสี่ยงที่รับได้ สภาพคล่องของสินทรัพย์ลงทุน อัตราผลตอบแทนแปลผันในทางกลับกันกับความเสี่ยงของการลงทุน เช่น การลงทุนในตลาดหุ้นเสี่ยงที่สุด แต่ให้โอกาสในการรับผลตอบแทนสูงสุด

หัวข้อการบรรยาย การวางแผนทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ 1. การเคลื่อนไหวของกระแสเงินสด 2. การหาแหล่งที่มาของเงินทุน 3. การใช้เงินทุนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4. การมีวินัยทางการเงิน 5. การลงทุนเมื่อมีกระแสเงินสดส่วนเกินในกิจการ การวางแผนทางการเงินเพื่อพิชิตใจธนาคาร

คุณสมบัติที่ธนาคารพิจารณา (5Cs) อายุ ประสบการณ์ ความเข้าใจ ภาวะเศรษฐกิจ ภาวะอุตสาหกรรม สังหาริมทรัพย์/อสังหาริมทรัพย์ สภาพคล่อง ความเสี่ยงต่ำ ไม่มีไม่ใช่เรื่องใหญ่ รายได้ ต้นทุน อัตรากำไร ทุนส่วนตัว 30%-40% สร้างความหวงแหนในธุรกิจ

ความเสี่ยงของธนาคาร ความเสี่ยงของอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยงคืออุตสาหกรรมที่ประเทศเราแข่งขันสู้ประเทศอื่นไม่ได้ เนื่องจากมีต้นทุนที่สูงกว่า มีความถนัดที่ต่ำกว่า ความเสี่ยงของธุรกิจ ศักยภาพทางธุรกิจในการแข่งขัน ทั้งทางด้านการขาย การทำกำไร และส่วนแบ่งตลาดซึ่งส่งผลต่อความสม่ำเสมอของรายได้ธุรกิจ ความเสี่ยงของพฤติกรรมผู้กู้ พฤติกรรมในการนำเงินไปใช้ไม่ตรงวัตถุประสงค์ พฤติกรรมการลงทุนในความเสี่ยงสูง รวมถึง พฤติกรรมในการผิดนัดชำระหนี้คืน

หลักเกณฑ์พิจารณาสินเชื่อ สภาวะแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ Operating Environment คุณภาพผู้บริหาร Quality of Management รายละเอียดสินเชื่อที่ขอ Credit Proposition ลักษณะความสัมพันธ์ Relationship Profile

สภาวะแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ Operating Environment หลักเกณฑ์พิจารณาสินเชื่อ สภาวะแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ Operating Environment การวิเคราะห์ระดับประเทศ การวิเคราะห์ระดับอุตสาหกรรม การวิเคราะห์ระดับธุรกิจ

หลักเกณฑ์พิจารณาสินเชื่อ คุณภาพผู้บริหาร Quality of Management ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการทำธุรกิจของผู้บริหาร ผู้รับช่วงต่อของกิจการ ความสามารถ และการปรับตัวตามสถานการณ์ต่างๆ

รายละเอียดสินเชื่อที่ขอ หลักเกณฑ์พิจารณาสินเชื่อ รายละเอียดสินเชื่อที่ขอ Credit Proposition วัตถุประสงค์การเสนอขอสินเชื่อ วงเงินที่ต้องการ ประเภทวงเงินสินเชื่อ

หลักเกณฑ์พิจารณาสินเชื่อ ลักษณะความสัมพันธ์ Relationship Profile ความสัมพันธ์ระหว่างธนาคารและผู้กู้ การเดินบัญชี

หลักเกณฑ์ธนาคารในการพิจารณา Purpose Margin Amount ผลตอบแทนที่ธนาคารได้รับ ความสามารถทำเงินและกำไร จากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย และค่าธรรมเนียม วัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในการกู้ ความเหมาะสมของวงเงินกู้ ว่าเพียงพอต่อความต้องการ หรือการลงทุนของผู้กู้ Ability Repayment การผสมผสานทักษะของทีมบริหาร คุณสมบัติ และประสบการณ์ทางอาชีพ/ธุรกิจ แหล่งที่มาของรายได้ และความสามารถในการชำระหนี้ Character Insurance หลักเกณฑ์ธนาคารในการพิจารณา ดูความน่าเชื่อของผู้กู้ การบริหารบัญชีที่มีอยู่กับธนาคารและความสัมพันธ์ที่มีกับธนาคาร หลักประกัน เพื่อลดความสูญเสีย กรณีไม่สามารถชำระหนี้ตามเงื่อนไข

วิเคราะห์จากงบการเงิน 1. ผลการดำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ดี มียอดขายเพิ่มขึ้น หรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยะ 2. ผลการดำเนินงาน มีกำไร อย่างน้อย 2 ใน 3 ของปีล่าสุด 3. สัดส่วน D/E Ratio อยู่ในเกณฑ์เหมาะสม ธุรกิจผลิต 2 : 1 ธุรกิจ Trading 4 : 1 4. การสนับสนุนวงเงินหมุนเวียน ตามความจำเป็น พิจารณา จาก AR, AP และ INV

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร 1. เดิน statement เดิน statement เดิน statement ธนาคารไม่ได้รู้จักธุรกิจของคุณทุกคน งบการเงินของธุรกิจ SMEs โดยเฉลี่ยมีความผิดพลาดสูง(แต่มากกว่าร้อยละ80 ไม่มีงบการเงิน) เกือบทุกธนาคารจึงอ้างอิงกระแสเงินสดเข้า-ออกบัญชี (หรือที่เรียกกันว่ายอดหมุนเวียนบัญชี ) ในการประเมินรายได้ ดังนั้นการเดินบัญชีจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะสร้างประวัติธุรกิจกับธนาคาร ถึงแม้จะเป็นเพียงการนำเงินเข้าออกบัญชีเพียงเดือนละครั้งสองครั้งก็ตาม ( ในกรณีที่กิจการอยู่ห่างไกลจากสาขาของธนาคาร)

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร การขอสินเชื่อเป็นเรื่องของเครดิตหรือความน่าเชื่อถือ จงรักษามันให้ดีที่สุด หลายคนไม่ได้ใส่ใจเรื่องประวัติค้างชำระในการใช้เครดิตส่วนบุคคล (บัตรเครดิตสินเชื่อที่พักอาศัย รถยนต์ หรือสินเชื่อเงินสด เป็นต้น) คงเพราะเห็นว่าเป็นยอดเงินเพียงเล็กน้อย โดยไม่ทราบว่าประวัติเหล่านี้ถูกเก็บไว้ในเครดิตบูโร และจะนำมา ประมวลผลพร้อมกันเมื่อขอสินเชื่อเชิงพาณิชย์ ดังนั้นหากกรรมการหรือหุ้นส่วนท่านใดมีประวัติค้างชำระในระบบอาจส่งผลกระทบต่อการขอสินเชื่อเชิงพาณิชย์อย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ การมีระเบียบวินัยมางบการเงินของคุณจึงถือเป็น คุณสมบัติประการต้นๆ ของการพิจารณาสินเชื่อเชิงพาณิชย์ก็ว่าได้

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร อย่าปล่อยให้ประวัติเช็คคืนมีผลต่อการพิจารณาสินเชื่อ เช็คคืนที่เจ้าของธุรกิจสั่งจ่ายไป อาจแสดงถึงความสามารถในการจัดการด้านการเงินหรือสภาพคล่องที่ไม่เพียงพอของธุรกิจ เพื่อไม่ให้ประวัติเช็คคืนมีผลต่อการพิจารณาคำขอสินเชื่อ ควรหาคนที่ไว้ใจได้ดูแลเงินหมุนเวียนในบัญชีของคุณให้ราบรื่น และหากพบว่ามีกระแสเงินสดไม่พอควรรีบดำเนินการติดต่อผู้รับเช็ค เพื่อขอผ่อนปรนระยะเวลาการชำระเงินใหม่และเปลี่ยนเช็คที่มีกำหนดเวลาที่สามารถจัดการได้ทันเวลา

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร 4. ความลับทางการค้าจะไม่ถูกเปิดเผยโดยธนาคาร มีข้อมูลหลายอย่างที่มีความสำคัญต่อการพิจารณาสินเชื่อ ( โดยเฉพาะข้อมูลการเดินบัญชีหลักที่ไม่ได้เปิดในนามกิจการ) แต่ไม่ได้มีการนำเสนอเพื่อสนับสนุนการขอสินเชื่อ เนื่องจากเจ้าของธุรกิจหลายรายกลัวความลับทางการค้าหรือทางภาษีเหล่านั้นรั่วไหล ในความเป็นจริงคือ ธนาคารไม่สามารถนำเอกสารเหล่านี้เปิดเผยให้กับบุคคลใดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ขอสินเชื่อ อีกทั้งหน่วยงานราชการ ( เช่น กรมสรรพากร ) มีวิธีตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้เอกสารที่ไม่สมบูรณ์ดังกล่าวในการอ้างอิงรายได้

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร 5. เอกสารทางการค้าของท่านมีมูลค่า จงเก็บมันไว้เสมอ เอกสารที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นบัญชีซื้อ/ขาย สำเนาใบกำกับภาษี ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสร็จรับเงิน เหล่านี้เป็นเอกสารที่อาจจำเป็นต้องใช้เพื่อนำเสนอผลประกอบการต่อธนาคาร และจะจำเป็นมากขึ้น ในกรณีที่ยอดหมุนเวียนบัญชีไม่สะท้อนรายได้ของธุรกิจที่แท้จริง สามารถใช้เอกสารเหล่านี้ประกอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่สินเชื่อในแต่ละพื้นที่ กรุณาติดต่อผู้ดูแลความสัมพันธ์ลูกค้าในพื้นที่ของท่านเพื่อปรึกษาถึงแนวทางการนำมาใช้ก่อนทุกครั้ง

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร 6. แหล่งรายได้และภาระหนี้สินรวมคือแหล่งที่มาของวงเงิน แม้ว่าบางครั้งหลักประกันจะมีมูลค่ามากกว่าวงเงินที่ขอสินเชื่อ ธนาคารอาจอนุมัติวงเงินที่ต่ำกว่าที่ขอ เนื่องจากธนาคารไม่ได้พิจารณาตามมูลค่าหลักประกันเพียงอย่างเดียว ธนาคารยังดูภาระหนี้สินรวมหรือจำนวนเงินที่ท่านสามารถผ่อนชำระได้ในที่สุดด้วย ซึ่งความสามารถในการผ่อนชำระดังกล่าวก็ดูได้จากแหล่งรายได้ของกิจการนั่นเอง

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร 7. เตรียมพร้อมดี มีชัยไปกว่าครึ่ง การขอสินเชื่อที่ดีจำเป็นต้องมีการเตรียมพร้อมก่อนเสมอ นอกเหนือจากเอกสารประกอบต่างๆ แล้ว สิ่งที่ท่านจำเป็นต้องทำคือ ประเมินแผนการทางการเงินของกิจการอย่างคร่าว ๆ เช่น ต้องการเงินเท่าไหร่ รายได้โดยประมาณต่อปีเป็นเท่าไหร่ สามารถใช้หลักประกันอะไรได้บ้าง ประเมินจากเงื่อนไขของแต่ละธนาคารแล้วน่าจะได้วงเงินสักเท่าไหร่ ถ้าไม่พอมีแผนจะทำอย่างไร สามารถชำระคืนได้หรือไม่ ภายในกี่ปี คำถามเหล่านี้จะช่วยในการเตรียมพร้อมก่อนดำเนินการเรื่องขอสินเชื่อ

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร 8. หลักประกันคือฟันเฟืองของการพิจารณาสินเชื่อ หลักประกันที่ดีที่สุดสำหรับการขอสินเชื่อคือ สถานประกอบกิจการรองลงมาคือหลักประกันที่คุณมีไว้ในครอบครองแต่ไม่ได้ใช้เป็นสถานที่ประกอบกิจการ อาทิ ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง หรือเครื่องจักร หลักประกัน บางชนิดอาจมีมูลค่าด้อยกว่าหลักประกันอื่น หรืออาจไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันได้ ขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นและความสามารถในการจัดการผลิตภัณฑ์ของแต่ละธนาคาร เหล่านี้ได้แก่ สิทธิการเช่า ที่ดินที่ยังไม่มีเอกสารสิทธิ หรือมีแต่ไม่สมบูรณ์ เช่น โฉนดหลังแดง สค.1 ภบท.5 เป็นต้น ควรปรึกษากับธนาคารถึงนโยบายในการรับหรือไม่รับหลักประกันนั้นๆ รวมถึงวงเงินที่ให้ได้เทียบกับมูลค่าหลักประกัน เพื่อที่จะได้ไม่เกิดปัญหาภายหลัง โดยทั่วไปวงเงินที่ธนาคารอนุมัติให้จะอยู่ระหว่างร้อยละ 60-95 ของมูลค่าหลักประกัน

เคล็ดลับการขอสินเชื่อเพื่อพิชิตใจธนาคาร 9. ไม่มีหลักประกันก็สามารถขอสินเชื่อได้ ในการปล่อยสินเชื่อประเภทที่ไม่ใช้หลักประกัน ธนาคารถือว่ามีความเสี่ยงสูง ดังนั้นคุณสมบัติของผู้ที่จะผ่านการอนุมัติได้ ก็จำเป็นต้องสูงกว่าการขอสินเชื่อทั่วไป ไม่ว่าจะเรื่องประสบการณ์ ยอดหมุนเวียนบัญชี แม้ว่าการสมัครจะรวดเร็ว ไม่ยุ่งยากซับซ้อนเท่ากับสินเชื่อที่มีหลักประกันโดยทั่วไปอัตราดอกเบี้ยที่คิดก็มักจะสูงกว่า (ประมาณร้อยละ 13- 30 ต่อปี ขึ้นอยู่กับประเภทและขนาดของวงเงินที่ได้รับการอนุมัติ) ดังนั้นในกรณีที่มีหลักประกัน สิ่งที่ดีที่สุดคือเสนอหลักประกันประกอบการขอสินเชื่อ กรณีที่มีหลักประกันไม่พอ สามารถติดต่อหน่วยงานภาครัฐเพื่อขอใช้บริการค้ำประกันวงเงินสินเชื่อได้เช่นกัน

ตัวอย่างการขอสินเชื่อ

ปัจจัยที่ธนาคารพิจารณา วงเงินสินเชื่อ = ภาระที่ต้องจ่ายต่อเดือน รายได้สุทธิที่ได้รับต่อเดือน มูลค่าหลักประกัน (LTV 60%-150%) ระยะเวลาการชำระหนี้ (5-10 ปี) อัตราดอกเบี้ยธนาคาร (MRR, MLR, MOR) ภาระหนี้สินปัจจุบันของผู้ขอสินเชื่อ รายได้ปัจจุบันของผู้ขอสินเชื่อ

ตัวอย่างการขอสินเชื่อ มูลค่าหลักประกัน (LTV 60%-150%) กรณีหลักประกัน 2,000,000 บาท ขอสินเชื่อ LTV 80% วงเงินกู้สูงสุด = 2,000,000 * 80% = 1,600,000 บาท ต้องการวงเงิน 1,000,000 บาท สามารถขอสินเชื่อได้

ตัวอย่างการขอสินเชื่อ ระยะเวลาการชำระหนี้ (5-10 ปี) กรณีกู้เงิน 1,000,000 บาท ระยะเวลา 5 ปี ผ่อนต่อเดือน 19,500 บาท ระยะเวลา 10 ปี ผ่อนต่อเดือน 11,200 บาท อัตราดอกเบี้ยธนาคาร (MRR, MLR, MOR) กรณีกู้เงิน 1,000,000 บาท คำนวณอัตราดอกเบี้ย 6.25% ผ่อนต่อเดือน 19,500 บาท คำนวณอัตราดอกเบี้ย 10% ผ่อนต่อเดือน 21,200 บาท

ตัวอย่างการขอสินเชื่อ ภาระหนี้สินปัจจุบันของผู้ขอสินเชื่อ ขอวงเงิน 1,000,000 บาท ผ่อนต่อเดือน 19,500 บาท ไม่มีภาระสินเชื่ออื่น สามารถกู้ได้ 1,000,000 บาท มีภาระสินเชื่ออื่นเดือนละ 10,000 บาท สามารถกู้ได้ 850,000 บาท รายได้สุทธิปัจจุบันของผู้ขอสินเชื่อ ขอวงเงิน 1,000,000 บาท ผ่อนต่อเดือน 19,500 บาท รายได้สุทธิต่อเดือน 25,000 บาท สามารถกู้ได้ 1,000,000 บาท รายได้สุทธิต่อเดือน 10,000 บาท สามารถกู้ได้ 510,000 บาท

Appendix

เคล็ดลับ 9 ประการ เพื่อการขอสินเชื่อ

เคล็ดลับการขอสินเชื่อ เดิน Statement เหมือนการแนะนำตัวให้รู้จักเป็นข้อมูลประกอบการให้สินเชื่อ การขอสินเชื่อเป็นเรื่องของเครดิตหรือความน่าเชื่อถือจงรักษาไว้ให้ดีที่สุด อย่าปล่อยให้มีประวัติเช็คคืนเพราะมีผลต่อประวัติการขอสินเชื่อ ความลับทางการค้า ธนาคารจะไม่เปิดเผย

เคล็ดลับการขอสินเชื่อ จงเก็บเอกสารทางการค้าไว้เพื่อใช้อ้างอิงได้ในอนาคต แหล่งรายได้และภาระหนี้สินรวมคือแหล่งที่มาของวงเงิน เตรียมวางแผนการเงินไว้ให้พร้อม หลักประกันคือฟันเฟืองของการพิจารณาสินเชื่อ ไม่มีหลักประกันก็สามารถขอสินเชื่อได้

AEC สิ่งใหม่สำหรับ SMEs ไทย

AEC คืออะไร การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนเป็นการประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพื่อให้เกิดความร่วมและความเป็นเสรีทางเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศสมาชิก ASEAN ซึ่งมีกำหนดภายในปี พ.ศ. 2558 โดยประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ประกอบด้วย 1. ไทย 6. ฟิลิปปินส์ 2. บรูไน 7. มาเลเซีย 3. พม่า 8. สิงคโปร์ 4. ลาว 9. กัมพูชา 5. เวียดนาม 10. อินโดนีเซีย

ข้อดีกับธุรกิจ SMEs มีอะไรบ้าง? ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคนอกเหนือภาษีหมดไป นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสาเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา/คุณภาพ ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ตลาดใหญ่ขึ้น เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เป็นฐานการผลิตร่วม การลงทุนในอาเซียนทาได้โดยเสรี สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต ความร่วมมือด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง

ผลกระทบกับธุรกิจ SMEs จะเป็นอย่างไร? ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคนอกเหนือภาษีหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง เป็นฐานการผลิตร่วม การลงทุนในอาเซียนทาได้โดยเสรี ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลง บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมรองรับ หรือ เคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้า โดยคู่แข่งในประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่าในการเป็นฐานการผลิต คู่แข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ

44 44 Page 44