Geol Coal Geology รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
Advertisements

หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
โครงการแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการเกี่ยวกับสหภาพยุโรป
ดิน(Soil).
ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
ทรัพยากรธรรมชาติ- พลังงาน
Geol Coal Geology การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน โดยการเผาให้ได้ความร้อน
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน
ทำไม?พลังงานทดแทนจึงเป็นธุรกิจที่มาแรงที่สุดในขณะนี้?
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ลักษณะภูมิประเทศของยุโรป
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปยุโรป
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ดินถล่ม.
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
โลกและการเปลี่ยนแปลง
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
ปิโตรเลียม.
งานนำเสนอ เรื่อง 10 อันดับน้ำตกที่สวยที่สุดในโลก
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
น้ำแร่ น.ส.มิ่งขวัญ เครือจันต๊ะ น.ส.ปิยะภรณ์ สอนใจ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
Applied Geochemistry Geol รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจว รรณ รัตนเสถียร ภาควิชาธรณีวิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Geol. 205486 Coal Geology รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เชื้อเพลิงธรรมชาติ มีอะไรบ้าง พีต (peat) ลิกไนต์ (lignite) ถ่านหิน (coal) หินน้ำมัน (Oil Shale) ปิโตรเลียม (Petroleum) น้ำมัน (mineral oil) ก๊าซธรรมชาติ (natural gas)

พีท ลิกไนต์ และถ่านหิน บางครั้งเรียกรวมกันว่า Humoliths เนื่องจากต้นกำเนิดเป็นเศษซากของพืชทั้งหมดสะสมตัวกันอยู่ แต่บางชนิดของถ่านหินก็มีกำเนิดคล้ายน้ำมัน คือ มีการตกจมของตะกอนอินทรีย์ตกจมในน้ำ เรียกว่า Sapropelites ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงระหว่างถ่านหินกับน้ำมันหรือปิโตรเลียม

การใช้พลังงานในอดีต

ปริมาณสำรองเชื้อเพลิงธรรมชาติของโลก

น้ำมัน

แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติในประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่ใน แอ่งเทอร์เชียรี แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติในประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่ใน แอ่งเทอร์เชียรี

แหล่งปิโตรเลียม ในประเทศไทย

ปิโตรเลียมของไทย

ลักษณะแหล่งกักเก็บน้ำมัน

หินต้นกำเนิดน้ำมันในประเทศไทย

เศษสารอินทรีย์ที่สลายตัวจากพืชที่พบในหินต้นกำเนิดบนบก

เศษสารอินทรีย์ที่สลายตัวจากพืชที่พบในหินต้นกำเนิดจากอ่าวไทย

สปอร์

เรซิน ละอองเกสร

เปลือก

ชนิดของถ่านหิน แบ่งตามลำดับขั้นการกลายเป็นถ่านหิน ของ ASTM(ไม่นับพีต) ลิกไนต์ 1.ลิกไนต์ A 2.ลิกไนต์ B ซับบิทูมินัส 1. ซับบิทูมินัส A 2.ซับบิทูมินัสB 3. ซับบิทูมินัส C บิทูมินัส บิทูมินัสที่มีสารระเหยสูงABC -บิทูมินัสที่มีสารระเหยปานกลาง -บิทูมินัสที่มีสารระเหยต่ำ แอนทราไซต์ เซมิแอนทราไซต์ -แอนทราไซต์ -เมต้าแอนทราไซต์

ส่วนประกอบสำคัญในถ่านหินชนิดต่างๆ

วิวัฒนาการทางธรณีวิทยาด้วยกระบวนการที่เรียกว่า กระบวนการเกิดภูเขาหรือขบวนการคดโค้งโก่งงอ (orogenesis) Joly (1925) และ Sonder (1922) ได้แบ่งธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกไว้เป็นช่วงเวลา ดังนี้ 1. ช่วงเวลาที่เป็นแผ่นดินยาวนาน 2. ช่วงเวลาที่ถูกน้ำท่วม โดย oceanic transgression 3. ช่วงเวลาที่แผ่นดินปริ่มน้ำ 4. ช่วงเวลาที่แผ่นดินยกตัวพ้นน้ำและการเกิดเทือกเขา

Carboniferous World Map Showing Coal Deposits

การประเมินในปี 1980 นี้ พบว่า ปริมาณเป็นถ่านหินถึง 6,160 Mtce และระดับซับบิทูมินัส-ลิกไนต์ อีก 3840 Mtce สหภาพโซเวียตสูงขึ้นเป็น 4,432 x 109 tce. สหรัฐอเมริกา 2,519 x 109 tce. จีน 1,339 x 109 tce. ที่รองลงมาเป็นออสเตรเลีย คานาดา เยอรมันตะวันออก และสหราชอาณาจักร และพบว่าบอสวานามาเป็นอันดับแปด มีถึง 100 x 109 tce. เป็นถ่านหินชั้นบิทูมินัส บราซิลมาเป็นอันดับที่ 12 มีถึง 10 x 109 tce. เป็นลิกไนต์ เวเนซูเอลามีถ่านหิน 4.7 x 109 tce. เชกโกสโลวาเกีย เป็นถ่านหิน 5.5 x 109 tce. อินโดนีเซีย เป็นลิกไนต์ 6.3 x 109 tce. และซิมบับเวเป็นถ่านหิน 5.8 x 109 tce. สำหรับประเทศไทยนั้น มีเพียง 2.2 x 109 tce.

สหรัฐอเมริกา ส่งออก 85 ล้านตัน จาก (710 ล้านตัน). โปแลนด์ 40 ล้านตัน สหรัฐอเมริกา ส่งออก 85 ล้านตัน จาก (710 ล้านตัน) โปแลนด์ 40 ล้านตัน ออสเตรีย 40 ล้านตัน สหภาพโซเวียต 25 ล้านตัน สหภาพอาฟริกาใต้ 25 ล้านตัน เยอรมันตะวันออก 25 ล้านตัน คานาดา 25 ล้านตัน สหภาพราชอาณาจักร 25 ล้านตัน รายอื่น ได้แก่ เชคโกสโลวาเกีย จีน โคลัมเบีย และบอสวานา สำหรับผู้ซื้อนั้น ที่มากกว่าเก้าแสนตันต่อปีมีถึง 26 ประเทศ ที่ซื้อมากที่สุดได้แก่ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยียม และลักแซมเบอร์ก เนเธอแลนด์ และเดนมาร์ค

ในการนำถ่านหินขึ้นมาใช้นั้น แปดประเทศที่มีอัตราการผลิตสูงสุดนั้น เป็นประเทศที่มีปริมาณสำรองสูงสุดทั้งนั้น ในกรณีของลิกไนต์ เยอรมันตะวันตกเป็นประเทศที่นำขึ้นมาใช้สูงสุด ปีละ 250 ล้านตัน 80 เปอร์เซ็นต์ของถ่านหินลิกไนต์ที่ขุดขึ้นมานี้ใช้ในโรงไฟฟ้า และเยอรมันตะวันออกขุดลิกไนต์ขึ้นมาใช้ปีละ 130 ล้านตัน ยูโกสลาเวีย 40 ล้านตันต่อปี ในบรรดาผู้ที่ส่งถ่านหินเป็นสินค้าออกในปริมาณมากกว่าล้านตันในปี 1980

แหล่งถ่านหินประเทศไทย

การผลิตถ่านหินในประเทศไทย -แหล่งแม่เมาะ - แหล่งแม่ทาน -แหล่งบ้านปู -แหล่งบ้านป่าคา -แหล่งแม่ละเมา -แหล่งเชียงม่วน

การผลิตถ่านหินของไทยเมื่อปี 2542

ชั้นถ่านหินเหมืองแม่เมาะ J-Zone

ชั้นถ่านหินเหมืองแม่เมาะ K-Zone

ชั้นถ่านหินเหมืองแม่เมาะ Q-Zone

บ้านโฮ่ง ลี้

ป่าคา

บ้านปู

นาทราย

แม่ลาย

แม่ตีบ

ถ่านหินภาคไต้ บางปูดำ หวายเล็ก

นาด้วง เหมืองถ่านหินแอนทราไซต์

หินน้ำมัน แม่สอด นาฮ่อง ห้วยเดื่อ ป่าคา แม่ตีบ เวียงแหง