โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาตลอดชีวิต พ.ศ. ....
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
ความรู้เรื่องการจับกุม ตาม ป.วิ อาญา
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การใช้ดุลพินิจในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
ภายใต้ความตกลงอาเซียน
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาพิเศษ
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
จุดเด่น / จุดขาย ของร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช.....
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า 5 จชต. ของกระทรวงพาณิชย์
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
1 เบี้ยประชุมกรรมการ. 2 ยกเ ลิก 1. พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมและ ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ. ศ.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ การช่วยเหลือทางกฎหมาย..... แก่เหยื่ออาชญากรรม เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ

หลักการ *ไม่เลือกปฏิบัติ มีความเสมอภาค *ทุกคนมีสิทธิเข้าถึงความยุติธรรม

สภาพปัญหา การเข้าถึงความยุติธรรมของไทย ประชาชนส่วนมากไม่รู้กฎหมาย ประชาชนส่วนมากไม่รู้สิทธิเสรีภาพตนเอง ประชาชนส่วนมากมีรายได้น้อย

แก้ไขปัญหา ด้วยการลดความเหลื่อมล้ำ (CS) ได้ อำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน โดย การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย

การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย การให้คำปรึกษา ทางกฎหมาย การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ กองทุนยุติธรรม การส่งเสริมสิทธิผู้ต้องหาในการสอบสวน

การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย ปี ๒๕๔๖ จัดตั้ง “คลินิกยุติธรรม” เป็นกลไกในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน จัดให้มีที่ปรึกษาทางกฎหมายประจำคลินิคยุติธรรม ปัจจุบันจัดตั้ง คลินิกยุติธรรม รวม ๘๒ แห่ง ทั่วประเทศ

การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย การส่งเสริมสิทธิแก่ผู้ต้องหาในชั้นสอบสวนคดีอาญา ตามป.วิ อ. มาตรา ๑๓๔/๑ รัฐต้องจัดหาทนายความให้กับ ผู้ต้องหา ๓ กลุ่ม - คดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต ไม่มีทนายความ - เด็กหรือเยาวชน - คดีมีอัตราโทษจำคุก ต้องการทนายความ ทนายความนั้น ได้รับเงินรางวัล จากกรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ

กองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรมได้ตั้งกองทุนยุติธรรม ปี ๒๕๔๙ ช่วยเหลือประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ปัจจุบัน ใช้ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ สถิติผลการดำเนินงาน ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๖ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๑๗๗ ๔๗๐ ๕๙๔ ๑๔๐๒ ๓๒๒๕ ๑๘๓๙ ๒๙๘๕

วัตถุประสงค์กองทุนยุติธรรม เพื่อให้มีการสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ 1. การให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านกฎหมาย 2. การฟ้องร้อง การดำเนินคดี หรือการบังคับคดี 3. การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ - ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน หรือไม่ได้รับความเป็นธรรม - ประชาชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ - รวมถึงผู้ที่กระทำการใดๆ เพื่อปกป้อง คุ้มครอง หรือ รักษาทรัพยากร ธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม

การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายกองทุนยุติธรรม 1. การประกันการปล่อยชั่วคราว 2. การว่าจ้างทนายความ 3. ค่าธรรมเนียมศาล 4. การตรวจพิสูจน์ 5. ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่น ค่าพาหนะ ค่าที่พัก 6. การคุ้มครองพยานก่อนเป็นคดี 7. คดีอาญารุนแรง/ผู้เสียหายกลุ่มตั่งแต่๑๐คนขึ้นไป 8. อื่นๆตามวัตถุประสงค์กองทุนยุติธรรม

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามระเบียบคณะกรรมการฯ (๑) ความสามารถในการให้ความช่วยเหลือของกองทุน (๒) พฤติกรรมและข้อเท็จจริงต้องเป็นเรื่องการคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ (๓) ลักษณะของการกระทำผิดหรือการกระทำละเมิดที่มี ผลกระทบต่อประชาชนส่วนมาก หรือความมั่นคงประเทศ (๔) ลักษณะของการกระทำผิดหรือการกระทำละเมิดที่ กระทบต่อความเชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรมประเทศ (๕) เรื่องที่มีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรม อันดีของประชาชน หรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

(๖) พฤติกรรม ข้อเท็จจริงและเงื่อนไขอื่นๆ ตาม สถานการณ์ สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น (๗) ความสามารถทางเศรษฐกิจของผู้ขอรับการสนับสนุน  (๘) การสนับสนุนของกองทุนนี้ให้คำนึงถึงโอกาสที่ผู้ขอรับ การสนับสนุนจะได้รับการช่วยเหลือหรือบรรเทาความ เสียหายตามกฎหมายอื่นด้วย (๙) การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการให้ความ ช่วยเหลือประชาชน เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ กองทุน

กลไกการขับเคลื่อนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ คณะกรรมการบริหารกองทุนยุติธรรม ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน ปลัดและรองปลัด กระทรวงยุติธรรม ผู้แทนหน่วยงาน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๓ ท่าน คณะอนุกรรมการพิจารณาคำขอฯ จำนวน 3 คณะ กรมบังคับคดี/ กรมสอบสวนคดีพิเศษ / ปปท ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการ ฯ ประกอบด้วย อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิฯ เป็นเลขานุการ รองอธิบดีฯ และผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิฯ และผู้อำนวยการกองคลังสำนักปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

สภาพปัญหากองทุนยุติธรรม ประชาชนเข้าไม่ถึงกองทุนยุติธรรม เมื่อเข้าถึงกองทุนยุติธรรมแล้วแต่ก็มี ความล่าช้า

justice delayed is justice denied ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความไม่ยุติธรรม

นโยบายกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เพิ่มผู้ขอรับบริการ ลดขั้นตอนกระบวนงาน

การคุ้มครองเหยื่ออาชญากรรมตามมาตรฐานสากล UN ค.ศ.1985 ๑ การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และได้รับความเป็นธรรม ๒ ๓ การเยียวยาจากรัฐ ๔ สวัสดิการสังคมอื่นๆ การได้รับชดใช้จากผู้กระทำผิด

ด้วยความขอบคุณ