โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ การช่วยเหลือทางกฎหมาย..... แก่เหยื่ออาชญากรรม เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
หลักการ *ไม่เลือกปฏิบัติ มีความเสมอภาค *ทุกคนมีสิทธิเข้าถึงความยุติธรรม
สภาพปัญหา การเข้าถึงความยุติธรรมของไทย ประชาชนส่วนมากไม่รู้กฎหมาย ประชาชนส่วนมากไม่รู้สิทธิเสรีภาพตนเอง ประชาชนส่วนมากมีรายได้น้อย
แก้ไขปัญหา ด้วยการลดความเหลื่อมล้ำ (CS) ได้ อำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน โดย การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย
การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย การให้คำปรึกษา ทางกฎหมาย การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ กองทุนยุติธรรม การส่งเสริมสิทธิผู้ต้องหาในการสอบสวน
การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย ปี ๒๕๔๖ จัดตั้ง “คลินิกยุติธรรม” เป็นกลไกในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน จัดให้มีที่ปรึกษาทางกฎหมายประจำคลินิคยุติธรรม ปัจจุบันจัดตั้ง คลินิกยุติธรรม รวม ๘๒ แห่ง ทั่วประเทศ
การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย การส่งเสริมสิทธิแก่ผู้ต้องหาในชั้นสอบสวนคดีอาญา ตามป.วิ อ. มาตรา ๑๓๔/๑ รัฐต้องจัดหาทนายความให้กับ ผู้ต้องหา ๓ กลุ่ม - คดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต ไม่มีทนายความ - เด็กหรือเยาวชน - คดีมีอัตราโทษจำคุก ต้องการทนายความ ทนายความนั้น ได้รับเงินรางวัล จากกรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ
กองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรมได้ตั้งกองทุนยุติธรรม ปี ๒๕๔๙ ช่วยเหลือประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ปัจจุบัน ใช้ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ สถิติผลการดำเนินงาน ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๖ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๑๗๗ ๔๗๐ ๕๙๔ ๑๔๐๒ ๓๒๒๕ ๑๘๓๙ ๒๙๘๕
วัตถุประสงค์กองทุนยุติธรรม เพื่อให้มีการสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ 1. การให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านกฎหมาย 2. การฟ้องร้อง การดำเนินคดี หรือการบังคับคดี 3. การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ - ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน หรือไม่ได้รับความเป็นธรรม - ประชาชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ - รวมถึงผู้ที่กระทำการใดๆ เพื่อปกป้อง คุ้มครอง หรือ รักษาทรัพยากร ธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม
การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายกองทุนยุติธรรม 1. การประกันการปล่อยชั่วคราว 2. การว่าจ้างทนายความ 3. ค่าธรรมเนียมศาล 4. การตรวจพิสูจน์ 5. ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่น ค่าพาหนะ ค่าที่พัก 6. การคุ้มครองพยานก่อนเป็นคดี 7. คดีอาญารุนแรง/ผู้เสียหายกลุ่มตั่งแต่๑๐คนขึ้นไป 8. อื่นๆตามวัตถุประสงค์กองทุนยุติธรรม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามระเบียบคณะกรรมการฯ (๑) ความสามารถในการให้ความช่วยเหลือของกองทุน (๒) พฤติกรรมและข้อเท็จจริงต้องเป็นเรื่องการคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ (๓) ลักษณะของการกระทำผิดหรือการกระทำละเมิดที่มี ผลกระทบต่อประชาชนส่วนมาก หรือความมั่นคงประเทศ (๔) ลักษณะของการกระทำผิดหรือการกระทำละเมิดที่ กระทบต่อความเชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรมประเทศ (๕) เรื่องที่มีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรม อันดีของประชาชน หรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
(๖) พฤติกรรม ข้อเท็จจริงและเงื่อนไขอื่นๆ ตาม สถานการณ์ สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น (๗) ความสามารถทางเศรษฐกิจของผู้ขอรับการสนับสนุน (๘) การสนับสนุนของกองทุนนี้ให้คำนึงถึงโอกาสที่ผู้ขอรับ การสนับสนุนจะได้รับการช่วยเหลือหรือบรรเทาความ เสียหายตามกฎหมายอื่นด้วย (๙) การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการให้ความ ช่วยเหลือประชาชน เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ กองทุน
กลไกการขับเคลื่อนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ คณะกรรมการบริหารกองทุนยุติธรรม ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน ปลัดและรองปลัด กระทรวงยุติธรรม ผู้แทนหน่วยงาน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๓ ท่าน คณะอนุกรรมการพิจารณาคำขอฯ จำนวน 3 คณะ กรมบังคับคดี/ กรมสอบสวนคดีพิเศษ / ปปท ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการ ฯ ประกอบด้วย อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิฯ เป็นเลขานุการ รองอธิบดีฯ และผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิฯ และผู้อำนวยการกองคลังสำนักปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
สภาพปัญหากองทุนยุติธรรม ประชาชนเข้าไม่ถึงกองทุนยุติธรรม เมื่อเข้าถึงกองทุนยุติธรรมแล้วแต่ก็มี ความล่าช้า
justice delayed is justice denied ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความไม่ยุติธรรม
นโยบายกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เพิ่มผู้ขอรับบริการ ลดขั้นตอนกระบวนงาน
การคุ้มครองเหยื่ออาชญากรรมตามมาตรฐานสากล UN ค.ศ.1985 ๑ การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และได้รับความเป็นธรรม ๒ ๓ การเยียวยาจากรัฐ ๔ สวัสดิการสังคมอื่นๆ การได้รับชดใช้จากผู้กระทำผิด
ด้วยความขอบคุณ