การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

โลกและความท้าทายในศตวรรษที่ ๒๑
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การบูรณาการไอซีทีสู่ห้องเรียน
วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
หลักการจัดการเรียนการสอน
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
21st Century Learning and Medical Education
เพื่อคุณภาพของเด็กและเยาวชน
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
เติม STEM ให้เต็ม STEAM
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
โรงเรียนปัญญาวรคุณ Panyaworakun school
การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
การพัฒนาคุณธรรมในศตวรรษที่ ๒๑
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
การพัฒนาศักยภาพครูสู่ตำแหน่งวิชาการ ในมุมมองของผู้บริหารโรงเรียน.
การเรียนรู้โดยใช้วิจัยวิจัยเป็นฐาน Research BaseD Learning
ครูปฐมวัย การพัฒนาเด็กในศตวรรษที่ 21
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ โรงเรียนวิทยาศาสตร์ การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ วิจารณ์ พานิช บรรยาย ณ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ๒๒ พ.ค. ๕๗

เป้าหมายของ รร. วิทย์ สร้างคนดี = สร้างคนเก่ง เรียนรู้เพื่อพัฒนารอบด้าน ไม่ใช่ทิ้งอย่างอื่น เน้นแต่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรียนแบบบูรณาการหลายศาสตร์ : STEM, Science & Arts, Science & Humanities, Science & Social Science

พลเมืองที่มีคุณภาพในศตวรรษที่ ๒๑ คือคนที่พัฒนาตนได้ใกล้เคียงศักยภาพที่มีอยู่ มากที่สุด พัฒนาพหุปัญญา รอบด้าน พัฒนาศักยภาพด้านดี ลดทอนศักยภาพด้านชั่ว เติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ที่รู้ผิดชอบชั่วดี และเรียนรู้ปรับตัวตลอดชีวิต เพื่อเป็น “ผู้ให้” > “ผู้เอา” เป็น “ผู้สร้าง” > “ผู้เสพ” ไม่ใช่แค่ “รู้วิชา” หรือ “เก่งวิชา” เท่านั้น

Prof.Erno Lehtinen Dept of Teacher Education and the Centre for Learning Research, U of Turku, Finland 29 April 2014

ความท้าทายของโรงเรียนวิทย์ เก่งวิทย์ + พัฒนาการครบด้าน (Multiple Intelligence) เรียนรู้ ทั้งด้านนอก และด้านใน เติบโตไปเป็นนักวิทยาศาสตร์ ที่มีชีวิตที่ดี มีมิติของความเป็นมนุษย์ที่พัฒนาครบด้าน

Epistemological Maturity คิดแบบ ขาว - ดำ คิดเชื่อ - คิดแย้ง คิดแบบหมวกหกใบ ความรู้เป็นมายา

คือการยึดมั่นถือมั่นความรู้ จนไม่กล้าคิด และลอง/แย้ง Knowledge is relational ความรู้เป็นสมมติ (assumption) ปัญหาของการเรียนรู้ คือการยึดมั่นถือมั่นความรู้ จนไม่กล้าคิด และลอง/แย้ง http://www.gotoknow.org/posts?tag=Zajonc

เรียน AL เพื่อพัฒนา 5 ด้าน เรียนแบบ Active/Engaged Learning ซับซ้อนกว่านี้ โยงชีวิตจริงให้มากที่สุด เรียนประยุกต์ ค. วิจัย บริการสังคม Contributor ปัญญา อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ กาย Service Learning Creator เรียนให้ได้ทักษะ โดยลงมือทำ และคิด

Table III-1. Levels of learning Transformative Learning Level Objectives Outcome Informative Information Skills Experts Formative Socialization Values Professionals Transformative Leadership attributes Change agents Table III-1. Levels of learning 2. เรียนรู้งอกงามจากภายใน 3. เปลี่ยนสมอง

Learn = Work เพื่อให้เรียนแล้วรู้จริง (Mastery Learning) นร. ต้องเรียนแบบลงมือทำจริง (Authentic Learning) Learn = Work สมัยก่อน ช่วยพ่อแม่ทำฟาร์ม สมัยนี้ เรียนแบบ Digital Farm http://www.gotoknow.org/posts?tag=november

นักเรียนเก่ง พัฒนาบางด้าน vs. พัฒนาครบด้าน เรียนเพื่อความเก่งของตนเอง ตัวกู ของกู เท่านั้น หรือ จะพัฒนาความเป็นมนุษย์ ทุกด้าน รวมทั้งด้านความสุขจากการให้/เสียสละ (Altruistic Mind) posterior superior temporal sulcus http://news.bbc.co.uk/2/hi/6278907.stm พัฒนาบางด้าน vs. พัฒนาครบด้าน เพื่อความเป็นนักวิทยาศาสตร์เท่านั้น + เพื่อความเป็นมนุษย์

เตรียมไปมีชีวิตที่แน่นอน นักเรียนเก่ง เตรียมไปมีชีวิตที่แน่นอน ชีวิตที่ไม่แน่นอน หรือ

ศตวรรษ ที่ ๒๑ ทักษะแห่ง

+ 2L 3Rs + 7Cs Learning Leadership Reading, ‘Riting, ‘Rithmetics + 21st Century Themes Critical thinking & problem solving Creativity & innovation Collaboration, teamwork & leadership Cross-cultural understanding Communication, information & media literacy (2 – 3 ภาษา) Computing & media literacy Career & learning self-reliance Change Learning Leadership

พัฒนา ๕ ด้าน - Five Minds ห้าฉลาด http://www.gotoknow.org/posts/418836

ทำความเข้าใจหลักการเรียนรู้สมัยใหม่ http://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5466 http://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5137

http://www. scbfoundation. com/publishing. php http://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5462 http://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5649%20

เสพ สร้าง Constructionism

เรียนรู้แบบไม่รู้ตัว เหตุการณ์ สังเกต เก็บข้อมูล ความจำใช้งาน Working Memory ตระหนักรู้ และคิด เรียนรู้ จำ ลืม ความจำระยะยาว Longterm Memory รู้ข้อเท็จจริงและกระบวนการ Ref.: Daniel T. Willingham. Why Don’t Students Like School?, 2009

7 R-Based Principles for Smart Teaching Prior Knowledge K Organization Motivation Develop Mastery Practice & Feedback Student Development & Climate Self-directed Learner http://www.gotoknow.org/blogs/posts/tag/Ambrose

ขั้นตอนการพัฒนาให้รู้จริง ทำได้ ไม่รู้ตัว ทำได้ รู้ตัว ฝึกบูรณาการ ให้เข้ากับกาละเทศะ 1 2 3 4 ฝึกบูรณาการ ทักษะย่อย mastery ทำไม่ได้ รู้ตัว ทำไม่ได้ ไม่รู้ตัว จากหนังสือ How Learning Works : Seven Research-Based Principles for Smart Teaching เขียนโดย Susan A. Ambrose และคณะ

วงจรของการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง ประเมินชิ้นงาน ประเมินความสามารถ วางแผน ลงมือทำ ประเมิน ตรวจสอบ ปรับปรุง รู้เขา A รู้เรา ความเชื่อของ นศ. เกี่ยวกับ ความฉลาดและ การเรียนรู้ DC P Metacognition Skills

5 คำถามหลักในการออกแบบการเรียนรู้ ต้องการให้ นร. ได้ทักษะ และ ค. ที่จำเป็นอะไรบ้าง (ตรวจสอบเอกสารหลักสูตร หนังสือทักษะแห่งอนาคตใหม่ ฯลฯ)่ จัดการเรียนรู้อย่างไรให้ได้ทักษะเหล่านั้น รู้ได้อย่างไรว่าได้ ทำอย่างไร กับ นร. บางคนที่ไม่ได้ ทำอย่างไรกับ นร.บางคนที่เรียนเก่งก้าวหน้าไปแล้ว ปัญหาส่วนใหญ่ เกิดจากสอนมากเกินไป

เรียน = ทำงาน + ใคร่ครวญไตร่ตรอง PBL, WBL, SBL, RBL, IBL ทำเป็นทีม แล้วทำกิจกรรม ๓ อย่าง Self-Reflection Group Reflection Presentation ผลงาน อจ. ตั้งคำถามให้เรียนทฤษฎี จากการปฏิบัติ ทั้งครูและศิษย์ ทำเช่นเดียวกัน

ทั้ง นร. & ครู เรียนรู้จากการปฏิบัติ การศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ นักเรียนเรียนจากการลงมือปฏิบัติ - PBL (Project-Based Learning) เรียนรู้ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ครู/อาจารย์ เรียนจากการลงมือปฏิบัติ - PLC (Professional Learning Community) เรียนรู้ทักษะในการเป็นครูฝึก ทั้ง นร. & ครู เรียนรู้จากการปฏิบัติ

การเรียนรู้ที่ใช้พลังสร้างสรรค์ของนักเรียน พลังเกิดจากการเห็นคุณค่าต่อตนเอง ต่ออนาคต ตั้งโจทย์ แล้วลงมือทำ ทำ project ทำเป็นทีม เรียนรู้ทั้งปฏิบัติ และทฤษฎี ได้ผลงาน ต่อชุมชน ท้องถิ่น เกิดความภูมิใจ เป็นแรงจูงใจ แรงบันดาลใจ นักเรียนเป็น producer of knowledge ไม่ใช่ consumer นักเรียนเป็นผู้สร้าง ไม่ใช่ผู้เสพ Constructionism

เปลี่ยนอย่างไร ห้องเรียน เป็น “ห้องทำงาน” ฝึกประยุกต์ใช้ความรู้ ฝึกค้นหาความรู้มาลองใช้ (Active Learning) ... ทำโครงงาน (PBL) / กิจกรรม / ลปรร. ครูทำ หน้าที่ที่มีคุณค่าสูง ... โค้ช การเรียนจากการปฏิบัติ feedback & assess ดูแลเป็นรายคน ครู ร่วมกันวางแผน/ออกแบบ การเรียนให้ได้ essential skills / knowledge, EFA & FB และร่วมกันทบทวน เรียนรู้วิธีทำหน้าที่ครูยุคใหม่ … PLC

อุดมการณ์ของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เรียนสิ่งที่ไม่ชัดเจน ซับซ้อน มองได้หลายมุม หนึ่งคำถาม มีได้หลายคำตอบ ไม่เน้นถูก-ผิด ครูชวนศิษย์ตั้งคำถาม แล้วศิษย์ช่วยกันหาคำตอบหลายคำตอบ หาคำตอบจากประสบการณ์การปฏิบัติของตนเอง เป็นสำคัญที่สุด กล้าแย้งตำรา/ทฤษฎี ปัญญาปฏิบัติ เพื่อการเรียนรู้ที่รู้จริง แตกฉาน มี L Skills

เรียนได้ดีที่สุดโดยใช้ “ส้นเท้า” SOLE = Self-Organized Learning Environment http://www.gotoknow.org/posts/560716