การศึกษา DNA การศึกษาโครงสร้างของ DNA นักฟิสิกส์ได้ใช้เทคนิคอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เอกซ์เรย์ ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) ศึกษาโครงสร้างของสารเคมีต่าง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
Advertisements

สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ของส่วนประกอบของเซลล์
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พันธุกรรมของแบคทีเรีย 2
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
โครโมโซม.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
โพรโทซัว( Protozoa ).
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Sarote Boonseng Nucleic acids.
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
7.Cellular Reproduction
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
DNA สำคัญอย่างไร.
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
saidaonline.jpg.
ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง
Properties and Classification
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
ครูเอื้อมพร เอี่ยมแพร
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน ตอบถูก 7 ข้อ 4 คะแนน ตอบถูก 6 ข้อ 3 คะแนน ตอบถูก 5 ข้อ 2 คะแนน ตอบถูกน้อยกว่า 4 ข้อ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกเลยไม่ได้รับคะแนน.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Transcription (การถอดรหัส)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
โดย ครูสุดารัตน์ คำผา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษา DNA การศึกษาโครงสร้างของ DNA นักฟิสิกส์ได้ใช้เทคนิคอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เอกซ์เรย์ ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) ศึกษาโครงสร้างของสารเคมีต่าง ๆ โดยได้นำตัวอย่างของ DNA บริสุทธิ์ ซึ่งมีลักษณะเป็นสารกึ่งผลึกไปวิเคราะห์ด้วยวิธีนี้ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2493-2495 เอ็ม เอฟ วิลคินส์ (M.H.F. Wilkin) และ โรซาลิน แฟรงคลิน (Rosalin Franklin) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ภาพถ่ายที่ชัดเจนมาก แสดงการหักเหของรังสีเอกซ์ที่ฉายผ่านโมเลกุลของ DNA ภาพนี้ทำให้นักฟิสิกส์แปลผลได้ว่า โครงสร้างของ DNA มีลักษณะเป็นเกลียว (helix) และประกอบด้วยสายพอลินิวคลีโอไทด์มากกว่า 1 สายขึ้นไป

ภาพที่เกิดจากการหักเหของรังสีเอกซ์ผ่าน DNA http://www.bloggang.com/data/d/dnahunsa/picture/1285252849.jpg http://www.learner.org/courses/essential/physicalsci/session5/closer1.html

 เจมส์ วัตสัน และ ฟรานซิส คริก เป็นผู้ค้นพบ DNA เกลียวคู่แบบเวียนขวา ในเดือนเมษายน 2496 และได้รับรางวัลโนเบลไปเมื่อ พ.ศ.2505

DNA หรือกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid) ซึ่งเป็นกรดนิวคลีอิก (กรดที่พบในใจกลางของเซลล์ทุกชนิด) ที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด บรรจุข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นไว้ ซึ่งมีลักษณะที่ผสมผสานมาจากสิ่งมีชีวิตรุ่นก่อน ซึ่งก็คือ พ่อและแม่ (Parent) และสามารถถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตรุ่นถัดไป ซึ่งก็คือ ลูกหลาน (Offspring)

องค์ประกอบทางเคมี DNA เป็นกรดนิวคลีอิกชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ (polymer) สายยาวประกอบด้วยหน่วยย่อย หรือ มอนอเมอร์ (monomer) ที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ ซึ่งแต่ละนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย http://www.usd116.org/apalla/biology/unit3/notes/images/Nucleotide.jpg http://www.abpischools.org.uk/res/coResourceImport/modules/genome/en-images/nucleotide.gif

องค์ประกอบทางเคมี (ต่อ) 1. น้ำตาลเพนโทส คือ น้ำตาลดีออกซีไรโบส ซึ่งมีคาร์บอน 5 อะตอม http://4.bp.blogspot.com/_r486mG1EY_s/SP6cy8xwtdI/AAAAAAAAAA8/bpS0l3kq-KE/s320/DNA%2520pentose.gif http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQSSvXiWVyWScEPCp6ml3Z8fCCMiF3nEUDh2uCbf6v6DPb-MG5doKVBafDr

http://www.biologyjunction.com/images/image004.gif

องค์ประกอบทางเคมี (ต่อ) 2. ไนโตรจีนัสเบส(niteongenous base) เป็นโครงสร้างประกอบด้วย วงแหวนที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ก. เบสพิวรีน ( Purine base ) มีวงแหวน 2 วง แบ่งเป็น 2 ชนิดได้แก่ กวานีน ( Guanine : G) , อะดีนีน ( Adenine : A) http://chemtech.org/cn/cn2325/images/36-base2.gif

องค์ประกอบทางเคมี (ต่อ) ข. เบสไพริมิดีน (pyrimidine) มีวงแหวน 1 วง ได้แก่ ไซโทซีน ( Cytosin : C) , ไทมีน ( Thymine : T ) และยูราซิล ( Uracil : U ) ข้อควรรู้ : ไทมีน จะพบใน DNA ส่วน ยูราซิล จะพบใน RNA เท่านั้น http://chemtech.org/cn/cn2325/images/36-base3.gif

องค์ประกอบทางเคมี (ต่อ) 3. หมู่ฟอสเฟต (Phosphate Group) http://student.ccbcmd.edu/~gkaiser/biotutorials/dna/images/phosphate.jpg

องค์ประกอบทางเคมี (ต่อ) น้ำตาลดีออกซีไรโบส หมู่ฟอสเฟต และเบส จับกันด้วยพันธะโควาเลนท์รวมกันเป็น monomer ที่เรียกว่า นิวคลีไทด์ (Nucleotide) http://staff.jccc.net/pdecell/biochemistry/nucleotheme.gif

องค์ประกอบทางเคมี (ต่อ) นิวคลีโอไทด์ภายในสายเดียวกัน จะเชื่อมต่อกันระหว่างหมู่ฟอสเฟตด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ (phosphodiester bond) เกิดเป็นโพลี นิวคลีโอไทด์ (polynucleotide) โพลีนิวคลีโอไทด์แต่ละสายจะเรียงตัวจาก 5'-3' สวนทิศกัน โดยยึดตำแหน่งของน้ำตาลเป็นหลัก http://click4biology.info/c4b/3/images/3.3/dinucleotide.gif

http://www.mun.ca/biology/scarr/Polynucleotide_directionality.gif

องค์ประกอบทางเคมี (ต่อ) โพลีนิวคลีโอไทด์ 2 สาย จะจับคู่กันโดยเบสในนิวคลีโอไทด์จะเชื่อมต่อกันระหว่างสายด้วยพันธะไฮโดรเจน โดย A จะเชื่อมกับ T ด้วยพันธะไฮโดรเจนแบบพันธะคู่ หรือ double bonds (A = T)และ C จะเชื่อมกับ G ด้วยพันธะไฮโดรเจนแบบพันธะสามหรือ triple bonds (C G) และมีลักษณะเป็นแบบเกลียวคู่เวียนขวา (right-handed double helix DNA)

http://images. tutorvista http://images.tutorvista.com/content/heredity-and-evolution/polynucleotide-formation.gif

http://faculty.samford.edu/~djohnso2/44962/405/04.05/f04-05-2.jpg

http://www2.le.ac.uk/departments/genetics/vgec/diagrams/31%20polynucleotide%202.jpg/image_preview

http://academic. brooklyn. cuny http://academic.brooklyn.cuny.edu/biology/bio4fv/page/molecular%20biology/16-05-doublehelix.jpg http://academic.brooklyn.cuny.edu/biology/bio4fv/page/molecular%20biology/16-05-doublehelix.jpg

http://www.mhhe.com/biosci/esp/2001_gbio/folder_structure/ge/m4/s1/assets/images/gem4s1_1.jpg

http://www.3dscience.com/img/Products/3D_Models/Biology/DNA/DNA_w_Phosphate_structure/Supporting_images/3d_model_DNA_w_phosphate_1.jpg http://www.pubwages.com/wp-content/uploads/2011/09/dna.jpg http://www.sciencephoto.com/image/198053/large/F0022076-DNA_structure-SPL.jpg http://us.123rf.com/400wm/400/400/coramax/coramax1208/coramax120801568/14814851-3d-people--man-person-with-dna-structure.jpg