(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. จังหวัดหนองบัวลำภู 2554-2557 ( 4 ปี ) กำหนดเมื่อ วันที่ 28 ธันวาคม 2553) วัยรุ่นใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและทางสังคมอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมและสนับสนุนวัยรุ่นให้มีงานทำ ส่งเสริมพัฒนาและสนับสนุนกิจกรรมการแสดงออกทางความคิดความสามารถของวัยรุ่น สร้างศูนย์เยาวชนในชุมชน วัยรุ่นมีความรักและเห็นคุณค่าในตนเอง และมีสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเชิงสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้มีการอบรมคุณธรรม-จริยธรรม สรรหา/คัดเลือกเยาวชนตัวอย่าง จัดงานมหกรรมเยาวชนคนเก่ง พ่อแม่ให้ความรักความเข้าใจ การให้คำปรึกษาแก่วัยรุ่น(ลูก)อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการจัดค่ายครอบครัวอบอุ่น ผสมผสานความร่วมมือระหว่างองค์กรชุมชน อสม.และครอบครัว ส่งเสริมให้วัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรมในวันพ่อและวันแม่แห่งชาติ วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องปัญหาของเยาวชนและร่วมแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างต่อเนื่อง จัดค่ายอบรมเยาวชนทางด้านทักษะชีวิต ส่งเสริมให้วัยรุ่นมีส่วนร่วมกิจกรรมที่ชุมชนจัดขึ้น ส่งเสริมให้วัยรุ่นมีส่วนร่วมในการร่วมแก้ปัญหาในชุมชน อสม.เฝ้าระวังในเรื่องสุขภาพของวัยรุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ -จัดให้มีบัญชีรายชื่อและข้อมูลสุขภาพของวัยรุ่นประจำหมู่บ้าน -บูรณาการให้เยาวชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ อสม. -ส่งเสริมการตรวจคัดกรองสุขภาพของวัยรุ่นประจำปี มุมมองประชาชน (Evaluation) โรงเรียนประสานงานกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนอย่างมีระบบ สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระว่างพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ผลักดันให้มีมาตรการป้องกันปัญหาพฤติกรรมทางเพศในโรงเรียนและชุมชน โรงเรียนจัดกิจกรรมบูรณาการเรื่องเพศศึกษาให้กับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดเวทีเสวนาเรื่องเพศศึกษา ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเข้าค่ายเยาวชน บูรณาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาจากทุกภาคส่วน หน่วยงานของรัฐมีแผนการดำเนินงานการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ บูรณาการการจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย พัฒนาปรับปรุงแผนการดำเนินงานและการติดตามประเมินผล จัดเวทีประกวด อปท.มีโครงการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นที่มีประสิทธิภาพ จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาวัยรุ่น พัฒนาศักยภาพของบุคคลในท้องถิ่น จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานแก้ไขปัญหาของวัยรุ่น อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง สร้างเครือข่ายและสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับภาคีเครื่องข่าย สนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากร บุคคล ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นของภาคีเครือข่าย มุมมองภาคี (Stakeholder) ระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ จัดตั้งคลินิกบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ ประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงกลุ่มวัยรุ่น ปรับกระบวนทัศน์ของภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ ให้ความรู้การปรับกระบวนทัศน์ การดำเนินงานในกลุ่มวัยรุ่น ปรับทัศนคติ ส่งเสริมให้เกิดทักษะ สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง พัฒนาความรู้ สร้างขวัญกำลังใจ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมร่วมกัน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมแก่ภาคเครือข่ายทุกปี ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม สร้างขวัญและกำลังใจ ส่งเสริมการนำไปใช้ ระบบติดตามประเมินผลที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบติดตามประเมนผล พัฒนาศักยภาพบุคลากร ปรับปรุงระบบการทำงาน มุมมองกระบวนการ (Management) ทีมงานเพียงพอและมีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพทีมงาน สร้างเครือข่ายทุกระดับ ของจังหวัด พัฒนาระบบควบคุมกำกับงาน ส่งเสริมระบบการให้ขวัญแก่ผู้ปฏิบัติงานที่ดี สร้างระบบยกย่องเชิดชูผู้ปฏิบัติงาน กำหนดโควต้าความดีความชอบสำหรับผู้ปฏิบัติงาน สนับสนุนคาตอบแทนที่เป็นธรรม ระบบข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบ Hard ware,Soft ware,People ware ในการบริหารจัดการข้อมูล กำหนดการคืนข้อมูลแก่ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ นโยบายในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับวัยรุ่นชัดเจนและต่อเนื่อง กำหนดเป็นนโยบายทั่วทั้งจังหวัด จัดทำแผนการแก้ไขปัญหา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นทั้งระยะสั้นระยะยาว วัฒนธรรมการทำงานร่วมกับชุมชน/ภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ สร้างพันธะสัญญาระหว่าง จนท.สาธารณสุข ชุมชน ภาคีเครือข่ายในการไขปัญหาวัยรุ่น จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาวัยรุ่น มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)
วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM)การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดหนองบัวลำภู พ.ศ. 2554-2555 ( 2 ปี ) กำหนดเมื่อ วันที่ 29 ธันวาคม 2553 วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องปัญหาของเยาวชนและร่วมแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างต่อเนื่อง วัยรุ่นมีความรักและเห็นคุณค่าในตนเอง และมีสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเชิงสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) พ่อแม่ให้ความรักความเข้าใจ การให้คำปรึกษาแก่วัยรุ่น(ลูก)อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง โรงเรียนจัดกิจกรรมบูรณาการเรื่องเพศศึกษาให้กับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนประสานงานกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนอย่างมีระบบ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง ระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ ปรับกระบวนทัศน์ของภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ระบบข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ ทีมงานเพียงพอและมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) วัฒนธรรมการทำงานร่วมกับชุมชน/ภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ
วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดหนองบัวลำภู (เส้นทางด่วน : สีแดง ) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2554 กำหนดเมื่อ วันที่ 29 ธันวาคม 2553 วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องปัญหาของเยาวชนและร่วมแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างต่อเนื่อง วัยรุ่นมีความรักและเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเชิงสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) พ่อแม่มีเวลาให้ความรักความเข้าใจ การให้คำปรึกษาแก่วัยรุ่น(ลูก)อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง โรงเรียนจัดกิจกรรมบูรณาการเรื่องเพศศึกษาให้กับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนประสานงานกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนอย่างมีระบบ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง ระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ ปรับกระบวนทัศน์ของภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ระบบข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ ทีมงานเพียงพอและมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) วัฒนธรรมการทำงานร่วมกับชุมชน/ภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ
ภายในปี พ.ศ. 2554 กำหนดเมื่อ วันที่ 29 ธันวาคม 2553) แผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดหนองบัวลำภู ภายในปี พ.ศ. 2554 กำหนดเมื่อ วันที่ 29 ธันวาคม 2553) วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องปัญหาของเยาวชนและร่วมแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนประสานงานกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนอย่างมีระบบ อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง มุมมองภาคี (Stakeholder) ระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ ปรับกระบวนทัศน์ของภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) ระบบข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ ทีมงานเพียงพอและมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)