COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
ปัญหาพื้นฐานในการจัดการขยะ COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ปัญหาพื้นฐานในการจัดการขยะ มลพิษจากการจัดการขยะอย่างไม่ถูกวิธี มีปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้น ปัญหาด้านองค์ประกอบขยะมูลฝอย
มลภาวะ..จาก การจัดการขยะที่ไม่ถูกวิธี COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT มลภาวะ..จาก การจัดการขยะที่ไม่ถูกวิธี มลภาวะ เกิดจากบ่อฝังกลบขยะ การเผาขยะก่อให้เกิดมลภาวะในอากาศ น้ำชะขยะ ทำให้เกิดมลภาวะต่อน้ำใต้ดิน มลภาวะในระหว่างการเก็บรวบรวมขยะ มลภาวะจากกระบวนการรีไซเคิลที่ไม่ถูกวิธี มลภาวะจากการทิ้งขยะที่ไม่สามารถควบคุมได้/การเผาขยะ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
การกำจัดขยะของเทศบาลในประเทศไทย ปี 2545 COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT การกำจัดขยะของเทศบาลในประเทศไทย ปี 2545 (กำจัดถูกต้อง 65 %) (กำจัดอย่างไม่ถูกต้อง 65 %)
ขยะ ณ แหล่งกำเนิดมีปริมาณมากขึ้น COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ขยะ ณ แหล่งกำเนิดมีปริมาณมากขึ้น สาเหตุจากปัจจัยภายนอก: การเพิ่มของประชากร (ประมาณ 1 % ต่อปี) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค บรรจุภัณฑ์จากภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ทำการควบคุมได้ยากในระดับท้องถิ่น ส่วนกลางและท้องถิ่นต้องร่วมมือกันด้านกฎ ระเบียบและด้านความตระหนัก
ผลจากการมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้น COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ผลจากการมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้น ต้องเก็บและลำเลียงขยะ ในปริมาณมากขึ้น บ่อขยะเต็มเร็วขึ้น ความยากในการหาสถานที่ตั้ง หลุมฝังกลบขยะ ใหม่ได้ มีค่าดำเนินการในการจัดการขยะมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงปริมาณขยะมูลฝอยในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2535 ถึง 2542 COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT การเปลี่ยนแปลงปริมาณขยะมูลฝอยในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2535 ถึง 2542 ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 3 %
การเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบขยะมูลฝอย COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT การเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบขยะมูลฝอย เดิมมีขยะอินทรีย์มาก ย่อยสลายได้ง่าย เมื่อมีวัสดุบรรจุภัณฑ์เพิ่มขึ้น ทำให้องค์ประกอบขยะเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการบริโภคมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบขยะมูลฝอย
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT องค์ประกอบขยะมูลฝอย ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ดังนี้ ขยะชีวภาพ ของขายได้ (บรรจุภัณฑ์) ขยะที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้ ส่วนประกอบรองของขยะ (ขยะอันตราย/เป็นพิษ)
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ขยะที่ต้องกำจัด 20 % ของขายได้ 40 % อินทรีย์วัตถุ 40 % องค์ประกอบขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด (โดยประมาณ)
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ขยะชีวภาพ เศษอาหาร (ทั้งที่ปรุงแล้วและยังไม่ปรุง) ผัก/ผลไม้ ขยะจากสวน (กิ่งไม้ ใบหญ้า ดอกไม้) มักก่อให้เกิดปัญหา ก่อให้เกิดมลภาวะได้สูง
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ปัญหาจากขยะชีวภาพ มีความชื้นสูง ปัญหาการจัดเก็บ (ส่งกลิ่นเหม็น) ปัญหาการกัดกร่อนระหว่างการลำเลียงขยะ ก่อให้เกิดน้ำชะขยะ ส่งมลภาวะต่อน้ำใต้ดิน เกิดก๊าซ ทำให้เกิดไฟลุกไหม้ได้ ส่งมลภาวะในอากาศ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ของขายได้ นำไปขายหรือรีไซเคิลได้ โดยหลัก ประกอบด้วย: กระดาษ/กระดาษแข็ง แก้ว พลาสติก โลหะ ก่อมลภาวะในระดับต่ำถึงปานกลาง วัสดุที่ยังมีมูลค่าถูกนำไปฝังกลบในบ่อขยะที่มีต้นทุนสูง
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ขยะที่นำไปกำจัด เป็นส่วนที่ไม่สามารถนำไปใช้หรือรีไซเคิลได้ พลาสติกบางประเภท (เช่น ถุงพลาสติก) ขยะจากการก่อสร้าง เศษกระเบื้อง วัสดุการแพทย์และการพยาบาล ส่วนมากมีระดับการก่อมลภาวะต่ำ
ขยะอันตรายและเป็นพิษ COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT ขยะอันตรายและเป็นพิษ หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า ยาฆ่าแมลง สี น้ำมันใช้แล้ว ก่อมลภาวะได้สูง
การแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT การแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด ผลหลักที่เกิดขึ้น: ทำให้สัดส่วนขยะเปลี่ยนแปลง ขยะชีวภาพจะมีอัตราส่วนเพิ่มขึ้น ถุงพลาสติกมีอัตราส่วนมากขึ้น ต้องการการจัดการมากขึ้น ก่อมลภาวะได้สูงขึ้น
ขยะที่ต้องกำจัด 27 % อินทรีย์วัตถุ 60 % ของขายได้ 13 % COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT องค์ประกอบขยะมูลฝอย ณ บ่อฝังกลบ ฯ ขยะที่ต้องกำจัด 27 % อินทรีย์วัตถุ 60 % ของขายได้ 13 %
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT จะทำอย่างไร ? การเพิกเฉยต่อปัญหาไม่ใช่ทางแก้ พัฒนาวิสัยทัศน์ พัฒนากลยุทธ์ เพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่อนาคตที่ดีกว่า