แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา นพ.วิรัช พันธ์พานิช ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์ 29 สิงหาคม 2557
การคัดแยกกลุ่มผู้ป่วยหรือกลุ่มเฝ้าระวังเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วย มีไข้มากกว่า 38’Cและมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเฝ้าระวังที่พบว่ามีไข้มากกว่า 38’C ทีหลัง กลุ่มที่ 2 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง( closed contact) บุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย บุคคลที่นั่งใกล้กับผู้ป่วยรอบๆแถวหน้า แถวหลังและด้านข้างรวม 6-8 คน กรณีที่โดยสารกับเครื่องบิน กลุ่มที่ 3 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ กลุ่มบุคคลที่ไม่ได้ใกล้ชิดโดยตรงกับผู้ป่วย เช่นบุคคลที่โดยสารเครื่องบินที่อยู่นอกเหนือจากแถวที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย บุคคลที่พบว่ามาจากประเทศกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
การคัดแยกกลุ่มผู้ป่วยหรือกลุ่มเฝ้าระวังเป็น 3 กลุ่มที่ 2 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง( closed contact) กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มที่ 3 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ Admit โรงพยาบาล นครพิงค์ 2 เตียง โรงพยาบาลมหาราช 2 เตียง เฝ้าระวังในโรงพยาบาล โรงพยาบาล สันป่าตอง 12 เตียง โรงพยาบาล สารภี 12 เตียง ใช้ชุดป้องกันแบบปรกติ( Level D) เฝ้าระวังที่บ้านหรือโรงแรม จัดทีมควบคุมโรค/SRRT/รพ.สต.เข้าไปเฝ้าติดตามวัดไข้วันละ 2 ครั้ง มีไข้มากกว่า 38’C
การลำเลียงผู้ป่วยในกลุ่ม 1 ใช้รถ รพ การลำเลียงผู้ป่วยในกลุ่ม 1 ใช้รถ รพ. นครพิงค์ ยกเว้น สายเหนือ( ฝาง แม่อาย ไชย ปราการณ์) ใช้รถ รพ.ฝาง สายใต้ตั้งแต่ดอย หล่อลงไปใช้ รพ.จอมทอง การลำเลียงผู้ป่วยในกลุ่ม 2 ใช้รถ รพ. สันป่าตอง หรือ รพ.สารภี
แนวทางการประสานรับผู้ป่วย EBOLA จากสนามบิน โรงพยาบาลนครพิงค์
สรุปประเด็นที่ต้องหารือ ประเด็น PPE level c ให้ ติดตามการสนับสนุน จาก ส่วนกลาง โดยประสานผ่าน สสจ.ชม และให้ ครอบคลุม ถึง รพช. และ รพ.มหาราชฯ สำรอง 100 set เบื้องต้น ให้เสนอต่อ สคร.10/ตม./สสจ.ชม ควรคัดกรองและวัดไข้ บนเครื่องบิน ขอความร่วมมือจากสายการบิน โดยเฉพาะ ประเทศเสี่ยง ในที่ประชุม การจัดการภายใน รพ.นครพิงค์ หาก3/4 มีเคส อื่นๆเช่นTB ควรย้ายออก จาก ¾ ลงward อื่นๆ หรือย้ายกลับ รพช.ช่วยรักษา
สรุปประเด็นซ้อมแผนรับมือEbola จากท่าอากาศยาน นานาชาติเชียงใหม่ - รพ
1.การใช้ CODE เฉพาะ ในการสื่อสาร เพื่อความปลอดภัย ในการสื่อสาร ส่งต่อผู้ป่วยมีมติให้ใช้ code 111 2.การรับแจ้งเหตุของ 1669 ต้องชัดเจน (รายละเอียดของเคส) หรือว่าควรให้แจ้ง call center เพื่อถามรายละเอียดของผู้ป่วยเพื่อเตรียมออกไปรับ ไม่ควรรีบร้อน ควรแต่งชุด ให้ปลอดภัย เหมาะสมที่สุด 3.การใช้PPE หรือระดับการใช้ PPE ใครบ้างที่ควรใส่ level C
4.ระยะเวลาในการรายงานเคสแก่แพทย์เวร(อายุรกรรม/กุมารเวชกรรม)ควรให้เวลา เต็มที่ เพื่อการเตรียม ชุด เตรียมเตียง เตรียมเจ้าหน้าที่ไม่ควรรีบเร่ง 5.ในที่ประชุม ไม่เห็นด้วย ที่จะให้พขร.ช่วย เข็นเปล หรือcontactผู้ป่วย ไม่จำเป็นต้องแต่งชุด PPE (สถานการณ์)คือผู้ป่วย เดินได้ไม่หนัก ให้เดินขึ้นรถเองรวมถึงเจ้าหน้าที่ ที่ไปรับอาจแค่ 1 คน 6.ควรมี Standing Order
7.กรณี ต้องส่ง lab ทีมระบาด (ผู้สอบสวนโรค )หากได้รับแจ้งจาก แพทย์หรือจากพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วย ให้แจ้ง สสจ.ชม และ สคร.10 เพื่อ สคร.10ประสานศูนย์วิทย์ ชม.มารับ labที่ห้องผู้ป่วย 8.ประเด็นเรื่องค่าตอบแทน ผู้ปฏิบัติงาน หรือเงินเพิ่มพิเศษ 9.ประเด็นเรื่องการจัดทำ แนวทางรับผู้ป่วย กรณี รับrefer หรือกรณี walk in
ขอขอบคุณ