การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อต่อยอด ยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

Charoen pokphand foods pcl.
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร  เปิดหลักสูตรมาตั้งแต่ ปี 2523 ผลิตนิสิตระดับปริญญา โทเข้าทำงานในหน่วยราชการและเอกชนมากกว่า 30 รุ่น  หลักสูตรเทคโนโลยีทางอาหารระดับปริญญา.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากสารมลพิษตกค้างยาวนาน POPs & HEALTH
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การพัฒนาและเพิ่มมูลค่า สินค้าเกษตรอินทรีย์
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
Story board.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
Story board.
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
อาหารเป็นพิษ จังหวัดเชียงใหม่
หลักการเลือกซื้ออาหาร
อาหารปลอดภัยด้านประมง
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อต่อยอด ยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ กลุ่มวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์

แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบัน * เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์สะอาด มีคุณภาพ มีความหลากหลายมากขึ้น * มีความสะดวกทั้งในแง่การเก็บรักษาและการบริโภค * มีความปลอดภัย ปราศจากสารพิษใดๆ ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค * มีรสชาติความอร่อยถูกปากผู้บริโภค * มีการพัฒนาไปสู่ระดับคุณภาพและมาตรฐานการผลิตที่เป็นสากล

ปัญหาของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ เนื้อสัตว์ ขาดคุณภาพ * การผลิตสัตว์ในฟาร์ม * กระบวนการฆ่าสัตว์ * กระบวนการตัดแต่งเนื้อ * เนื้อสัตว์มีการปนเปื้อน * ปัญหาเรื่องโรคสัตว์ * ต้นทุนวัตถุดิบสูง

ปัญหาของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ขาดคุณภาพ * วัตถุดิบเนื้อสัตว์ขาดคุณภาพ * ขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแปรรูป * มีการใช้วัตถุเจือปนเกินมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ * มีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ ในกระบวนการผลิต * ต้นทุนในการผลิตสูง * ผู้เชี่ยวชาญในการแปรรูปมีน้อย * ขาดการพัฒนามูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์

ปัญหาของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ 3. ผู้บริโภคมีทัศนคติไม่ดีต่อเนื้อสัตว์ * การบริโภคไขมันสัตว์มากเกินไปจะทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ได้ * เนื้อสัตว์อาจมีสารตกค้างจากฮอร์โมน ยาปฏิชีวนะ สารเร่งการเจริญเติบโต * เนื้อสัตว์มีจุลินทรีย์ ก่อโรคอาหารเป็นพิษ * เนื้อสัตว์อาจมีโรคที่เกิดในสัตว์และติดต่อถึงคนได้

การแปรรูปเนื้อสัตว์ 1. เนื้อสัตว์คุณภาพสูง Steak

1. เนื้อสัตว์คุณภาพสูง เนื้อ Slice ปิ้งย่าง ชาบู เนื้อ Slice

2. อาหารปรุงสุกพร้อมรับประทาน ไก่ตุ๋นยาจีน

2. อาหารปรุงสุกพร้อมรับประทาน มัสมั่น

3. ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปรรูป 3.1 ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ขนาดเดิม เนื้อสวรรค์ หมูทุบ

>> ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ขนาดเดิม ไก่ย่าง เบคอน

3.2 ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ลดขนาด >> กลุ่มบดหยาบ กุนเชียง แหนม

>> กลุ่มบดหยาบ ไส้กรอกอีสาน ไส้อั่ว

>> กลุ่มบดละเอียด (Emulsion) ลูกชิ้นหมู หมูยอ

>> กลุ่มบดละเอียด (Emulsion) โบลอนย่า ไส้กรอกเวียนนา

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปเนื้อสัตว์ ปีงบประมาณ 2558 การฝึกอบรมเทคโนโลยีการแปรรูปเนื้อสัตว์ หลักสูตร : การทำผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ระยะสั้น ฝึกอบรม 3 รุ่น ๆ ละ 20 คน (รุ่นละ 5 วัน) * รุ่นที่ 1 เดือน มกราคม 2558 * รุ่นที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ 2558 * รุ่นที่ 3 เดือน มีนาคม 2558 1. ตามแผนงานปกติ

การฝึกอบรมเทคโนโลยีการแปรรูปเนื้อสัตว์ ปีงบประมาณ 2557

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปเนื้อสัตว์ จัดที่โรงงานแปรรูปเนื้อสัตว์ปทุมธานี 2. นอกแผนงาน (แผนงานปกติของหน่วยงานอื่น) ต้องจัดทำเป็นโครงการ จัดนอกสถานที่ สถานที่ประกอบการของกลุ่มเป้าหมาย

สถานที่ประกอบการของกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ โทร. / โทรสาร 0 2501 3179 โทร. / โทรสาร 0 2501 3179 E-mail : transfer2@dld.go.th