ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย
การลงทุน การเงิน บริการ ต่าง ๆ ด้าน การค้า ประเทศทั่วโลก โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโต ของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรม ที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัฒน์ ในคำภาษาอังกฤษคือ Globalization หรือ Globalisation เข้าใจในความหมายโดยทั่วไปว่า โลกไร้พรมแดน
เศรษฐกิจ การเมือง ธุรกิจ สังคม โลกาภิวัตน์
ประเทศไทย 1. เปิดประตูทำการค้า 2. ติดต่อทางการเงินระหว่างประเทศ 3. ต้องพึ่งพาเศรษฐกิจโลก
4. ส่งสินค้าออกมากขึ้น 5. ซื้อสินค้าเข้ามากขึ้น
การค้ากับต่างประเทศของไทย การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ต่าง ๆ ผ่านเขตแดนของชาติ การนำเข้า ( Import ) การส่งออก ( Export )
คอมพิวเตอร์ เครื่องปรับอากาศ ข้าว สินค้าออก รถยนต์ อัญมณี ยางพารา แผงวงจรไฟฟ้า ข้าว สินค้าออก รถยนต์ อัญมณี เสื้อผ้า ยางพารา วิทยุโทรทัศน์ เม็ดพลาสติก
ตลาดส่งออก 1. สหรัฐอเมริกา 2. ญี่ปุ่น 3. กลุ่มอาเซียน
สินค้าเข้า เคมีภัณฑ์ อัญมณี อุปกรณ์โครงรถ เครื่องจักรไฟฟ้า เหล็กและเหล็กกล้า น้ำมันดิบ คอมพิวเตอร์ สินค้าเข้า เครื่องจักร สินแร่ โลหะ อุปกรณ์โครงรถ เคมีภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า อัญมณี
แหล่งนำเข้า 1. ญี่ปุ่น 2. จีน 3. สหรัฐอเมริกา
การยกระดับฐานะความเป็นอยู่ ของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกิจ การยกระดับฐานะความเป็นอยู่ ของประชาชน การกระจายรายได้ทั่วถึงและเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชาชนเพิ่มมากขึ้น คุณภาพชีวิตประชากรไทยได้มาตรฐาน
เป็นเครื่องชี้อัตราการเจริญเติบโต รายได้ประชาชาติ เป็นเครื่องชี้อัตราการเจริญเติบโต การกระจายรายได้ทั่วถึงและเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชาชนเพิ่มมากขึ้น คุณภาพชีวิตประชากรไทยได้มาตรฐาน (อยู่ดีกินดี)
ความสำคัญ 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2. พัฒนาสังคม 3. ด้านอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ 4. ด้านการประสานผลประโยชน์ร่วมกัน 5. ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ โดยมีการนำเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต