การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
Research Mapping.
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
ข้อเสนอ เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข สู่ความเป็นเลิศด้านสุขภาพ กลุ่มนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 27 ตุลาคม 2551.
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 1 ปี 2557 จังหวัดเลย
สรุปการประชุมระดมความคิด
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองหัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

ประเด็นนโยบายสำคัญ 4 ประเด็น การดำเนินตามกรอบประชาคมอาเซียน 1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. โครงการตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามแนวพระราชดำริ (โครงการปิดทองหลังพระ) และการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. การตรวจราชการเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน/ข้อร้องเรียนของประชาชน 4. กระทรวงสาธารณสุข ตรวจประเด็นที่ 1, 2, 4 กระทรวงสาธารณสุข ไม่ตรวจในประเด็นที่ 3

1.การดำเนินตามกรอบประชาคมอาเซียน 1.1 การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้าและบริการ ประเด็นนโยบายสำคัญ ที่เกี่ยวกับกระทรวงสาธารณสุข 1.อาหารปลอดภัย เจ้าภาพหลัก : สสอป./ กรม อ. เจ้าภาพร่วม : กรมวิทย์ฯ/ อย./คร. กระทรวงที่เกี่ยวข้อง มหาดไทย/พาณิชย์/ เกษตร ด้านพัฒนาสินค้า บริการ และปัจจัยสนับสนุน 2.Primary GMP เจ้าภาพหลัก : อย. เจ้าภาพร่วม : กรมวิทย์ฯ/ กรมอ./ สป. กระทรวงที่เกี่ยวข้อง เกษตร/มหาดไทย/ พาณิชย์/แรงงาน อุตสาหกรรม/ศึกษา วิทยาศาสตร์ 3.ยาเสพติด เจ้าภาพหลัก : ศอ.ปส.สธ. เจ้าภาพร่วม : สบรส./ กรม พ./ กรมจิต/ กรม สบส. กระทรวงที่เกี่ยวข้อง ยุติธรรม/มหาดไทย/ แรงงาน/กลาโหม/ พัฒนาสังคม/ศึกษา/ เอกชน/ประชาสังคม

1.ความปลอดภัยอาหารในส่วนภูมิภาค : Value Chain ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ อาหารผลิตในประเทศ + นำเข้า 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (สำนักมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, กรมปศุสัตว์, กรมประมง, กรมวิชาการเกษตร) - GAP - Q Mark 2. กระทรวงสาธารณสุข (สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา) - GMP - Primary GMP (โรงงานประกอบ/แปรรูปอาหาร) 1. กระทรวงสาธารณสุข (สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย, กรมอนามัย, สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, กรมควบคุมโรค) - กำหนดมาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ ประกอบด้วย 1. มาตรฐานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 2. มาตรฐานด้านอาหารปลอดภัย 3. มาตรฐานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค (กระทรวงพาณิชย์) 2. กระทรวงมหาดไทย - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ออก เทศบัญญัติ หรือข้อกำหนดออกครอบคลุมตลาดสดประเภทที่ 1 3. กระทรวงพาณิชย์ - เครื่องชั่งกลาง - มาตรฐานราคาสินค้า - การสนับสนุนการปรับปรุงมาตรฐาน 1. กระทรวงสาธารณสุข (สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย, กรมอนามัย, สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, กรมควบคุมโรค) - กำหนดมาตรฐานตามโครงการสุขาภิบาลอาหาร ส่งเสริมการท่องเที่ยว สนับสนุนเศรษฐกิจไทย (CFGT) 2. กระทรวงมหาดไทย - อปท. ออกเทศบัญญัติและข้อกำหนดควบคุมดูแลร้านอาหารและแผงลอย 3. กระทรวงอื่นๆ - กำหนดมาตรฐานให้ร้านอาหารและแผงลอยตามบทบาทหน้าที่

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน โครงการสุขาภิบาลอาหาร ส่งเสริมการท่องเที่ยว สนับสนุนเศรษฐกิจไทย (อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Taste) เป้าหมาย ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 : ตลาดสดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อ เป้าหมาย ร้อยละ 100

จังหวัด พัทลุง ตรัง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม   ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร จังหวัด จำนวนทั้งสิ้น (ร้าน) (แผง) พัทลุง 304 553 ตรัง 423 561 สงขลา 1,485 3,256 สตูล 330 529 ปัตตานี 360 728 ยะลา 649 516 นราธิวาส 494 670 รวม 4045 6813

จำนวนตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ จังหวัด จำนวนตลาดประเภทที่ 1 จำนวนตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ   ทั้งหมด ระดับดี ระดับดีมาก รวมทั้งสิ้น ร้อยละที่ผ่านเกณฑ์ (แห่ง) ตลาดสด น่าซื้อ พัทลุง 10 5 3 8 80.00 ตรัง สงขลา 16 13 81.25 สตูล 2 100.00 ปัตตานี 6 4 1 83.33 ยะลา 50.00 นราธิวาส รวม 63 39 11 50 79.37

2. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (การจัดการขยะมูลฝอยตาม Roadmap) จุดเน้น ประเด็นตรวจติดตาม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.การจัดการขยะมูลฝอย ตกค้าง สะสมในสถานที่กำจัดขยะมูล ฝอยในพื้นที่วิกฤติ (ขยะมูลฝอยเก่า) 1.การสำรวจ ประเมิน และจัดทำแผนฟื้นฟู เป็น 3 ระยะ 1)ระยะเร่งด่วน (6 เดือน) 2) ระยะปานกลาง (1 ปี) 3) ระยะยาว (1 ปีขึ้นไป) 2.สถานที่กำจัดขยะของเอกชนไม่ถูกต้อง/ การบังคับใช้กฎหมาย กระทรวงทรัพยากร/มหาดไทย/ เกษตร/การคลัง/สาธารณสุข/ ศึกษา/พลังงาน/วิทยาศาสตร์ 2. การจัดการขยะมูลฝอยและของ เสียอันตรายที่เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) 1.รูปแบบ/ผลการดำเนินการ การจัดการขยะมูลฝอยในแต่ละพื้นที่/แต่ละระยะ 2.ผลการจัดการแบบรวมศูนย์/เทคโนโลยีผสมผสาน/ส่งเสริมภาคเอกชนลงทุน กระทวงทรัพยากร/มหาดไทย/ 3. การวางระเบียบมาตรการการ บริหารจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย ความก้าวหน้าการออกกฎ/ระเบียบ/ แผนแม่บท/มาตรการบริหารจัดการแต่ละระยะ กระทรวงทรัพยากร/ศึกษา/ มหาดไทย/เกษตร/การคลัง/ สาธารณสุข/พลังงาน/ วิทยาศาสตร์ 4. การสร้างวินัยของคนในชาติมุ่ง สู่การจัดการที่ยั่งยืน 1.รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ปลูกจิตสำนึกให้ ประชาชน เช่น โรงเรียน สถานศึกษา 2.ผลลัพธ์/ผลกระทบต่อปัจจัยทางสังคม 3.ตรวจสอบ/ดำเนินการทางกฎหมาย ศึกษา/พลังงาน/วิทยาศาสตร์/ สำนักนายกรัฐมนตรี ตาม พรบ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (กฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545)

บทบาทกระทรวงสาธารณสุข ในการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ จุดเน้น กรอบประเด็น การตรวจติดตาม (ที่เกี่ยวข้องกับ สธ.) บทบาทของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1. การจัดการขยะมูลฝอย ตกค้างสะสมในสถานที่ กำจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่ วิกฤติ (ขยะมูลฝอยเก่า) การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนในชุมชน ใกล้เคียงสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่วิกฤติ (โดยเฉพาะในพื้นวิกฤติ 6 จังหวัด คือ ปทุมธานี ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี สมุทรปราการ และนครปฐม) 1. วิเคราะห์ข้อมูล - จำนวนชุมชนและประชากรที่มีความเสี่ยงที่อาจได้รับ ผลกระทบต่อสุขภาพฯ - จำนวน/ประเภทเรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญจากการ จัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ 2. ติดตามสถานการณ์และมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน จัดการขยะมูลฝอยของจังหวัด 3. ประเมินความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ในชุมชนและคนงาน และผลักดันให้จังหวัดมีมาตรการ ป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ จากการคัดแยก เก็บขน และกำจัด ขยะมูลฝอย 2. การจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตรายที่ เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากของเสียอันตรายในชุมชนที่ประกอบการไม่ถูกต้อง ฐานข้อมูลพื้นที่/ชุมชนที่มีการคัดแยกซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างไม่ถูกต้อง ให้ความรู้และสนับสนุน อปท. ในการกำกับดูแลประชาชนกลุ่มเสี่ยง

ต่อ บทบาทกระทรวงสาธารณสุข ในการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ จุดเน้น กรอบประเด็น การตรวจติดตาม (ที่เกี่ยวข้องกับ สธ.) บทบาทของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. การวางระเบียบมาตรการ การบริหารจัดการขยะมูล ฝอย และของเสียอันตราย การออกข้อบัญญัติท้องถิ่นและการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุขของเทศบาล/อบต. 1. สนับสนุนให้เทศบาล/อบต. นำคำแนะนำของ คณะกรรมการสาธารณสุข ที่เน้นการคัดแยก ขยะมูลฝอยตั้งแต่ครัวเรือนไปออกข้อกำหนด ท้องถิ่นและบังคับใช้ตามกฎหมาย 2. สนับสนุนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการขยะ มูลฝอยให้ได้ตามมาตรฐาน (EHA) 4. การสร้างวินัยของคนใน ชาติมุ่งสู่การจัดการที่ ยั่งยืน การสร้างต้นแบบการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกสุขลักษณะที่ครัวเรือน ฝึกอบรม อสม. เพื่อให้ความรู้แก่ชุมชนและมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ครัวเรือน (อบรมตามหลักสูตรที่กรมอนามัยกำหนด

4.การตรวจราชการเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน/ ข้อร้องเรียนของประชาชน ผู้ตรวจราชการกระทรวง ตรวจเยี่ยมศูนย์ดำรงธรรมทุกจังหวัด เพื่อกระตุ้น/เร่งรัดการแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของประชาชน หมายเหตุ : ตรวจพร้อมกรณีปกติ/บูรณาการ/อยู่ที่ดุลยพินิจของผู้ตรวจราชการ

THANK YOU