กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
Advertisements

ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ วันที่ 25 ธันวาคม 2557

ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปี 2544 - 2556

ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา มาตรการกฎหมาย ผลักดันกฎหมาย : สวนสาธารณะ ข้อความคำเตือน 2.พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ : สคร. สสจ. ตำรวจ ทหาร 3.การเฝ้าระวัง และดำเนินคดี : รอบสถานศึกษา Music / Sport Marketing ลานเบียร์ มาตรการปรับเปลี่ยน ค่านิยมและทัศนคติ ค่ายเยาวชน สร้างแกนนำ มัธยมศึกษา อุดมศึกษา 2.การสื่อสารความเสี่ยง ผลิต/เผยแพร่สื่อ 3.Special หรือ Mobile Events : วันงดดื่มสุราแห่งชาติ เทศกาลวาเลนไทน์สงกรานต์ ลอยกระทงฯลฯ มาตรการระดับพื้นที่ ชุมชน : ชุมชนต้นแบบป้องกันปัญหาวัยรุ่น (บูรณาการ) 2.สถานศึกษา : ทักษะชีวิต/ Friend Conner (บูรณาการ) พัฒนาเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (บูรณาการ) สถานบริการ 3. สถานบริการสาธารณสุข : คลินิกวัยรุ่น (บูรณาการ) มาตรการสนับสนุน 1.การบริหารจัดการ : Teen Manager (บูรณาการ) 2.การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง โดยกรม คร. (ส.ระบาด:BSS , ส.NCD:BRFSS) 3.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ถอดบทเรียน

ปรับเปลี่ยนค่านิยมและทัศนคติ บูรณาการระดับพื้นที่ เป้าหมาย จังหวัดสามารถดำเนินการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ผลผลิต มีเครื่องมือในการควบคุม Alc. ที่สามารถใช้งานได้มีประสิทธิภาพ ผลผลิต มีกระบวนการในการปรับเปลี่ยนค่านิยมและทัศนคติในการดื่มAlc. พัฒนาวิชาการ นโยบายและกฎหมาย ประชุมคณะกรรมการฯ/อนุกรรมการฯ ประชุมผู้เชี่ยวชาญ Policy Brief / Poll /พยากรณ์โรค/ฐานข้อมูล 2. จัดทำคู่มือ / แนวทาง 3. เฝ้าระวัง / ดำเนินคดี 4. พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ 5. พัฒนาความร่วมมือ หน่วยงานภายในกระทรวง / หน่วยงานลง MOU 5. พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังและดำเนินคดี 1.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเยาวชน 2.การสื่อสารความเสี่ยง ผลิตสื่อ เผยแพร่สื่อ 3. Special หรือ Mobile Events วันงดดื่มสุราแห่งชาติ วาเลนไทน์/สงกรานต์/ ลอยกระทง 12.5571 ลบ. 10.2154 ลบ. กฎหมาย ปรับเปลี่ยนค่านิยมและทัศนคติ บูรณาการระดับพื้นที่ 1.770 ลบ. มาตรการสนับสนุน การบริหารจัดการ Teen Manager System Manager 2. เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง (BSS / BRFSS) 3. นิเทศ ติดตามประเมินผล 4. ถอดบทเรียน บูรณาการ ผลผลิต มีกระบวนการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างบูรณาการในทุก Setting สถานศึกษา : ทักษะชีวิต / โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนต้นแบบ : ป้องกันปัญหาวัยรุ่น / วัยทำงาน สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย 4. สถานบริการสาธารณสุข : NCD คุณภาพ/คลินิกวัยรุ่น

กิจกรรมและงบประมาณตามบทบาท สำนัก สคร. มาตรการกฎหมาย 8,237,100 4,320,000 1. พัฒนาวิชาการ นโยบายและกฎหมาย 1,957,700 120,000 2. พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ 1,525,800 1,200,000 3. การเฝ้าระวัง และดำเนินคดี 2,385,600 3,000,000 4. พัฒนาความร่วมมือเครือข่าย 2,000,000 5. พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังและดำเนินคดี 368,000 มาตรการปรับเปลี่ยน ค่านิยมและทัศนคติ 4,815,400 5,400,000 1. ค่ายเยาวชน สร้างแกนนำ 1,073,100 2,400,000 2. สื่อสารความเสี่ยง 2,500,000 3.Special หรือ Mobile Events 1,242,300 600,000

กิจกรรมและงบประมาณตามบทบาท สำนัก สคร. มาตรการระดับพื้นที่ (บูรณาการ) 1. ในชุมชน งบบูรณาการกลุ่มวัย 2. ในสถานศึกษา 3. ในสถานบริการสาธารณสุข มาตรการสนับสนุน 1,470,000 300,000 1. บริหารจัดการ 1,000,000 600,000 2. การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง งบบูรณาการกลุ่มวัย กรณี BSS 3.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ถอดบทเรียน 470,000 240,000 รวมเงิน 14,522,500 10,020,000 รวมเงินทั้งสิ้น 24,542,500.- บาท