กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง
นายณัช ภิญโญวัฒนชีพ ผู้อำนวยการกองตะวันออกกลาง กรมเอเชียใต้ฯ (3-4) กลุ่มประเทศตะวันออกกลางกับความมั่นคงฯ การศึกษา - ปริญญารัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญารัฐศาสตร์มหาบัณฑิต Northern Illinois University. USA ประวัตการทำงาน - เจ้าหน้าที่การทูต 7 กรมเอเชียตะวันออก - ผู้อำนวยการกองตะวันออกกลาง กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา - สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปราก สาธารณรัฐเชค
ลำดับการบรรยาย มุ่งตอบคำถาม ดังนี้ ทำไมจึงต้องให้ความสนใจต่อประเทศตะวันออกกลาง? อะไรคือประเด็นสำคัญเกี่ยวกลุ่มประเทศตะวันออกกลางในปัจจุบัน? นโยบายและยุทธศาสตร์ของไทยต่อตะวันออกกลาง เป็นอย่างไร?
กลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง อิหร่าน อิรัก คูเวต ซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน อียิปต์ ซาอุดีอาระเบีย โอมาน กาตาร์ เยเมน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาห์เรน ลิเบีย ปาเลสไตน์ 1
ความหลากหลายในตะวันออกกลาง ความหลากหลายทางศาสนา ความหลากหลายทางชาติพันธ์ ความหลากหลายด้านรูปแบบการเมือง การปกครอง ความหลากหลายทางค่ายการเมือง ความหลากหลายในทางเศรษฐกิจ 2
ทำไมจึงต้องให้ความสนใจต่อตะวันออกกลาง ? เป็นจุดเชื่อมของทวีปเอเชีย แอฟริกาและยุโรป เป็นสมรภูมิของการแก่งแย่งอำนาจ และมีความสำคัญทางภูมิยุทธศาสตร์ (Geo-strategy) Africa Europe Asia 3
เป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาจูดาย คริสต์ และอิสลาม เป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาจูดาย คริสต์ และอิสลาม จูดาย (ยิว) คริสต์ อิสลาม 4
เป็นศูนย์กลางของโลกอิสลาม (Islamic heartland / Cradle of Muslim World) 5
เป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก 6
เป็นกลุ่มประเทศผู้อุปถัมภ์ของ OIC 7
อะไรคือประเด็นสำคัญเกี่ยวกับตะวันออกกลางในปัจจุบัน ? ประเด็นทางด้านการเมือง อิรัก อิหร่าน กระบวนการสันติภาพในตะวันออกกลาง (Middle EastPeace Process) 8
Barack Hussein Obama and the Middle East “CHANGE” Iraq Iran Israel and Palestine 9
ประเด็นด้านเศรษฐกิจ Energy (Oil & Gas) Wealth Effect / Sovereign Wealth Fund : กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ Look East Policy 10
นโยบายและยุทธศาสตร์ของไทยต่อตะวันออกกลาง ภาพรวม 11
ความสัมพันธ์ทางการทูต ประเทศตะวันออกกลางที่มีสถานทูตในไทย Egypt Iran Kuwait Oman Qatar Saudi Arabia United Arab Emirates Bahrain Israel 12
สถานทูต/สถานกงสุลไทยในภูมิภาคตะวันออกกลาง BAHRAIN IRAN JORDAN KUWAIT OMAN QATAR SAUDI ARABIA** UNITED ARAB EMIRATES** EGYPT ISRAEL สถานทูต สถานกงสุลฯ 13
นโยบายและยุทธศาสตร์ของไทยต่อตะวันออกกลาง ด้านการเมือง สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับปัญหา จชต สร้างพันธมิตรประเทศตะวันออกลางในเวที OIC เสริมสร้างสัมพันธ์กับผู้นำระดับสูงและระดับนโยบาย ขยายความร่วมมือด้านข่าวกรองและการต่อต้านการก่อการร้าย สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนา (dialogue among religions) แสวงหาความร่วมมือ เพื่อสนับสนุนนักศึกษาไทย-มุสลิม 14
ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ ด้านการค้า รักษาตลาด export และ re-export ที่ไทยครองตลาดและเป็นผู้นำตลาด เพิ่ม gateway จุดติดต่อธุรกิจ จุดกระจายสินค้าไทยในภูมิภาค ขยายตลาดสินค้าไทยในสาขาที่มีศักยภาพ และมีแนวโน้มเติบโต ส่งเสริมการเข้าไปทำธุรกิจการค้า และบริการที่ไทยแข่งขันได้ 15
ด้านเศรษฐกิจ ด้านพลังงาน ขยายความร่วมมือด้านพลังงาน และแสวงหาแหล่งพลังงานสำรอง สนับสนุนให้เข้ามาลงทุน/เป็นพันธมิตรทางยุทธศาตร์ (Strategic Partnership) ของไทย โดยเฉพาะภาค downstream เช่น การกลั่นน้ำมัน เพิ่มความร่วมมือด้านก๊าซธรรมชาติ (LNG) การลงทุน ดึงดูดการลงทุนในสาขาที่ตะวันออกกลางสนใจ เช่น การเงิน การธนาคาร อสังหาริมทรัพย์ การท่องเที่ยว แรงงาน มุ่งขยายตลาดแรงงาน ในตลาดที่มีแนวโน้มเติบโต เช่น อิสราเอล กาตาร์ บาห์เรน ลิเบีย 16
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจไทย-ตะวันออกกลาง ปี 2551 16
แหล่งนำเข้าน้ำมันดิบของไทย S 15