คุณลักษณะของระบบ ความถี่ ของโทรทัศน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
E-Learning.
Advertisements

พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
Chapter 6 : Video.
Device for single – phase ac parameter measurement
สินค้า CREATECH กล่องรับสัญญาณดิจิตอลทีวี (Set-Top Box) CREATECH CT-1
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
General Purpose TV Interfacing Module
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
ระบบการสื่อสารข้อมูล
การบูรณาการคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต เพื่อการเรียนการสอน
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
การใช้งาน VCD CUTTER4.04.
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
ดาวเทียมไทยคม.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ ด้วยมืออาชีพ
( wavelength division mux)
DSL : Digital Subscriber Line
โทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector)
Liquid Crystal Display (LCD)
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ความถี่ในการส่งสัญญาณดาวเทียม
ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตทีวี
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
แนวคิดการส่งสัญญาณ(R-Y) และ (B-Y) ออกอากาศ
บล็อกไดอะแกรมภาคจ่ายไฟ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
การจัดการไฟล์ เสียง ของงานเทคโนโลยีและโสตทัศนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประภากร นนทลักษณ์ กรกฎาคม 2553.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
ADSL คืออะไร.
การผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา Video Production for Education รหัสวิชา:
วิดีโอ Video.
ประเภทและรูปแบบ ของวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
ทรูวิชั่นส์ VS เคเบิลทีวี
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ICQ I SEEK YOU.
ISP ในประเทศไทย
การเผยแพร่รายการ. โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV : Closed Circuit Television) เป็น โทรทัศน์ที่ติดตั้งตามสถานศึกษาต่างๆ ตลอดจนหน่วยงานบางหน่วย โดยมากจะทำ การผลิตรายการทางการสอนแล้วส่งภาพทาง.
ADDIE Model.
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
หลักการบันทึกเสียง.
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณลักษณะของระบบ ความถี่ ของโทรทัศน์ UNIT-3 คุณลักษณะของระบบ ความถี่ ของโทรทัศน์ nathee yongyut y.nathee@gmail.com

เนื้อหา ระบบโทรทัศน์ คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งสัญญาณ โทรทัศน์

ระบบโทรทัศน์ ในการใช้โทรทัศน์ในแต่ละประเทศจะมี ระบบสีของภาพต่างกัน เนื่องจาก ประเทศต่างๆ ใช้ไฟฟ้าที่มีความถี่ ต่างกัน เช่น อเมริกา ใช้ไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า 110 โวลท์ 60 เฮิรทซ์ ยุโรปใช้ไฟฟ้า แรงดัน 220 โวลท์ 50 เฮิรทซ์ ดังนั้นการ ผลิตเครื่องรับโทรทัศน์ จึงมีระบบที่แตกต่างกัน

ระบบ SDTV (Standart TV) ระบบโทรทัศน์มาตรฐานที่นิยมใช้กัน (ระบบสี) มีอยู่ 3 ระบบ คือ 1. ระบบ NTSC 2. ระบบ PAL 3. ระบบ SECAM

1.ระบบ NTSC (National Television Systems Communication) เป็นโทรทัศน์สีระบบแรกของโลก ผลิตในสหรัฐอเมริกาโดย คณะกรรมการระบบโทรทัศน์ ได้ สาธิตการใช้ครั้งแรกในเดือนตุลาคม พ.ศ.2495 โทรทัศน์ระบบนี้เป็น แม่แบบของโทรทัศน์สีทุกระบบ

คุณลักษณะของโทรทัศน์ระบบ NTSC 1. จำนวนเส้น 525 เส้น 2. จำนวนฟิลด์ 60 ฟิลด์ต่อวินาที 3. จำนวนกรอบภาพ 30 ภาพ ต่อวินาที 4. ความกว้างของช่องสัญญาณ 6 เมกะเฮิรทซ์ 5. ความถี่เส้น 15,750 Hz

2. ระบบ PAL (Phase Alternating Line) ผู้คิดค้นคือ ดร.บรุซ ชาวเยอรมันนีโดยดัดแปลง มาจากระบบ NTSC เป็นที่นิยมกันมากในยุโรป ออสเตรเลีย และประเทศไทย ดร.บรุซ ผู้คิดค้นได้ พบว่า ระบบโทรทัศน์ NTSC มีความคิดเพี้ยนทาง สีทำให้สีที่ปรากฏบนจอภาพ ไม่ตรงกับสีตามธรรมชาติ จึงได้คิดระบบ PAL ขึ้น โดยให้ส่วนสีแดง ขาว กลับเฟส 180 องศา ตลอดเวลา คือ เป็นบวกที หนึ่งเป็นลบทีหนึ่ง เมื่อถึงเครื่องรับจึงกลับไป รวมกันใหม่ ดังนั้นความผิดเพี้ยนจึงเป็นบวกที หนึ่ง ลบทีหนึ่ง เมื่อรวมกันจึงถือว่าไม่ผิดเพี้ยนเลย

คุณลักษณะของโทรทัศน์ระบบ PAL 1. จำนวนเส้น 625 เส้น 2. จำนวนฟิลด์ 50 ฟิลด์ต่อวินาที 3. จำนวนกรอบภาพ 25 ภาพต่อวินาที 4. ความถี่เส้น 15,625 Hz 5. ความกว้างของช่องสัญญาณ 7 เมกะเฮิรทซ์

3. ระบบ SECAM (Sequential Colour A Memory) ผู้คิดค้นคือ เฮนรี่ ดี ฟรานซ์ (Henri de Frange) ชาวฝรั่งเศส คำว่า SECAM ย่อมาจาก Sequential Colcur A. Memory ระบบนี้คล้ายกับระบบ NTSC แต่มีเส้นมากกว่า การรวมสัญญาณสีกับคลื่นพาห์ ใช้ระบบ FM ส่งสัญญาณสีไปทีละสี แล้วนำไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำ เมื่อส่งครบแล้วจึงนำมา รวมกัน ใช้ในประเทศฝรั่งเศส ฮังการี เยอรมัน ตะวันออก อัลจีเรีย และรัสเซีย

คุณลักษณะของระบบ SECAM 1. จำนวนเส้น 819 หรือ 625 เส้น 2. ความถี่ฟิลด์ 50 ฟิลด์ต่อวินาที 3. ความถี่กรอบภาพ 25 ภาพต่อวินาที 4. ความถี่เส้น 20, 475 Hz สำหรับระบบ 819 เส้นหรือ 15,625 Hz สำหรับระบบ 625 เส้น

HDTV โทรทัศน์ความละเอียดสูง (High-definition television - HDTV) เป็นการถ่ายทอด สัญญาณโทรทัศน์ ที่มีความละเอียดของ ภาพ มากกว่าระบบถ่ายทอดสัญญาณ โทรทัศน์แบบดั้งเดิม โดยสัญญาณดังกล่าว จะแพร่ภาพด้วยระบบโทรทัศน์ดิจิตอล

HDTV HDTV สามารถให้ความละเอียดสูงสุด 1920x1080 จุดภาพ (Pixel) ซึ่งมีชื่อเรียกว่า โทรทัศน์ความละเอียด สูงเต็มรูปแบบ (Full HD) ซึ่งเป็นระดับสูงสุดที่สัญญาณ ภาพ จะสามารถรองรับ ระบบการออกอากาศสัญญาณ โทรทัศน์ความละเอียดสูง (High-Definition Broadcast) สำหรับความละเอียดของ ภาพ ที่สามารถแสดงบนจอโทรทัศน์ความละเอียดสูง ใน ปัจจุบันสูงถึง 3840x2160 จุดภาพ หรือที่เรียกว่า Quad HD ซึ่งเกินจากความสามารถที่สัญญาณโทรทัศน์จะส่ง ได้ แต่ใช้เฉพาะกับ การแสดงภาพความละเอียดสูงจากช่องทางอื่น

อ้างอิง สุรพล บุญลือ.2556.การผลิตรายการ โทรทัศน์และวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา.เอกสาร ประกอบการอบรมสาหรับครูและบุคลากร ทางการศึกษาหลักสูตร.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี.

Digital TV

Digital television ทีวีดิจิตอลหรือโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (Digital television) เป็นระบบการส่งผ่านสัญญาณภาพวีดีโอและ เสียงโดยส่งสัญญาณโดยตรงจากสถานีโทรทัศน์ ตรงไป ยังตัวรับสัญญาณ ซึ่งแต่เดิมระบบการรับสัญญาณ โทรทัศน์ในบ้านเราใช้เป็นระบบอนาล็อก โดยระบบดิจิตอลมีจุดเด่นกว่าระบบอนาล็อกทั้งในด้าน ความคมชัดของภาพและเสียง และการส่งข้อมูลแบบ ดิจิตอลสามารถส่งข้อมูลได้มากกว่าแบบเดิม (Multicasting) ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตทีวี  ไม่ใช่ทีวีดาวเทียม และไม่ใช่เคเบิลทีวี

จุดเด่นของระบบการส่งสัญญาณแบบใหม่ (ดิจิตอล) 1. ระบบดิจิตอลมีระบบการบีบอัดสัญญาณ ( Digital Compression ) ทำให้สามารถส่งรายการต่อช่องได้มากขึ้น 2. สามารถให้บริการเสริมอื่นๆ ได้ (ในกรณีที่ กฎหมายอนุญาต) 3. สามารถรับชมขณะอยู่ในพาหนะเคลื่อนที่ได้ เช่น รับโทรทัศน์บนรถยนต์ได้ 4. สามารถให้บริการฟรี ( Free to Air ) หรือ บริการเก็บค่าสมาชิกได้

จุดเด่นของระบบการส่งสัญญาณแบบใหม่ (ดิจิตอล) 5. เครื่องส่ง 1 เครื่อง สามารถส่งได้หลาย รายการ 6. ระบบดิจิตอล สามารถพัฒนาให้มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้ 7. เครื่องส่งใช้กำลังออกอากาศลดลง ทำให้ ประหยัดพลังงาน 8. คุณภาพในการรับชมดีขึ้น ไม่มีเงา การ รบกวนน้อย

ทำยังไงถึงจะดู Digital TV ได้ ? 1.ใช้กล่องรับสัญญาณ Digital TV หรือ (Set Top Box) ที่สามารถรับสัญญาณ DVB-T2 ได้ ข้อดีคือไม่ ว่าจะใช้ทีวีรุ่นไหนก็ตาม CRT /LCD TV /LED TV /PLASMA TV จะเก่าหรือใหม่ ก็สามารถดูได้ ทั้งหมด ยกตัวอย่าง ถ้าทีวีมีช่องต่อ HDMI ก็ใช้ต่อผ่านช่องนี้เพื่อรับชม ด้วยสัญญาณดิจิตอลได้เลย ถ้าเป็นจอแก้วรุ่นเก่า ใช้ช่องต่อ AV แดงขาวเหลือง ตัวกล่องก็จะทำ หน้าที่แปลงสัญญาณจากดิจิตอลเป็นอนาล็อกเพื่อ เข้าทีวีรับชมได้เหมือนกัน

Set top box ที่รองรับมาตรฐาน DVB-T2

ตุ๊กตาสัญลักษณ์ (มาสคอตดิจิตอลทีวี) ชื่อ“น้องดูดี” 2. ใช้ทีวีที่มี Digital Tuner แบบ DVB-T2 ในตัว ใน ปัจจุบันทีวีที่วางขายส่วนมากจะมีแต่แบบ DVB-T ซึ่ง ไม่สามารถใช้ร่วมกับมาตรฐานแบบ DVB-T2 ได้ ตุ๊กตาสัญลักษณ์ (มาสคอตดิจิตอลทีวี)  ชื่อ“น้องดูดี”