อย่าคิดว่าเจ๋ง
ยุคดั้งเดิม เริ่มจากการจ้างงาน (ระบบฝึกงานกับผู้มีฝีมือ) โดยให้ คนงานได้เข้ามาอาศัยและให้นายจ้างผู้มีฝีมือเป็นผู้สอนงานให้ และให้ค่าจ้าง (Guild System) เริ่มจากการจ้างงาน (ระบบฝึกงานกับผู้มีฝีมือ) โดยให้ คนงานได้เข้ามาอาศัยและให้นายจ้างผู้มีฝีมือเป็นผู้สอนงานให้ และให้ค่าจ้าง (Guild System) HRM:4
ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม (กลางศตวรรษที่ 18) มีการนำเครื่องจักรมาช่วยในการทำงาน ต้องการจ้างงานมากขึ้น ทำให้มี การรับคนงานเข้าทำงานตามความสามารถเฉพาะด้าน เน้นการออกแบบงาน การคัดเลือก และการจ่ายค่าตอบแทน เรียกว่า การบริหารแบบวิทยาศาสตร์ โดยการบุกเบิกของ เฟรดเดอริค เทย์เลอร์ (Frederick W.Taylor, ) บิดาของการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ ซึ่งเขาเสนอว่า คนงานควรได้รับ ค่าจ้างตามจำนวนชิ้นงานที่ทำงานได้ (Piecemeal Rate) โดยเชื่อว่า เป็นวิธี จูงใจคนทำงานได้ดีที่สุด มีการนำเครื่องจักรมาช่วยในการทำงาน ต้องการจ้างงานมากขึ้น ทำให้มี การรับคนงานเข้าทำงานตามความสามารถเฉพาะด้าน เน้นการออกแบบงาน การคัดเลือก และการจ่ายค่าตอบแทน เรียกว่า การบริหารแบบวิทยาศาสตร์ โดยการบุกเบิกของ เฟรดเดอริค เทย์เลอร์ (Frederick W.Taylor, ) บิดาของการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ ซึ่งเขาเสนอว่า คนงานควรได้รับ ค่าจ้างตามจำนวนชิ้นงานที่ทำงานได้ (Piecemeal Rate) โดยเชื่อว่า เป็นวิธี จูงใจคนทำงานได้ดีที่สุด
ยุคก่อนโลกาภิวัตน์ การจัดคนให้พอกับหน่วยงาน ให้ค่าตอบแทนและสวัสดิการ ที่เหมาะสม มองบุคคลในแง่ของค่าใช้จ่าย (Cost) เรียกว่า การบริหารงานบุคคล (Personal Management) เอลตัน เมโย (Elton Mayo; 1924) ศึกษา พบว่า การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีของพนักงาน มีผลต่อขวัญกำลังใจและแรงจูงใจ ในการทำงาน ซึ่งปฏิสัมพันธ์ของพนักงานและอิทธิพลของกลุ่ม มี ผลกระทบต่อการปฏิบัติงานมากกว่าการจูงใจให้ทำงานด้วยเงิน การจัดคนให้พอกับหน่วยงาน ให้ค่าตอบแทนและสวัสดิการ ที่เหมาะสม มองบุคคลในแง่ของค่าใช้จ่าย (Cost) เรียกว่า การบริหารงานบุคคล (Personal Management) เอลตัน เมโย (Elton Mayo; 1924) ศึกษา พบว่า การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีของพนักงาน มีผลต่อขวัญกำลังใจและแรงจูงใจ ในการทำงาน ซึ่งปฏิสัมพันธ์ของพนักงานและอิทธิพลของกลุ่ม มี ผลกระทบต่อการปฏิบัติงานมากกว่าการจูงใจให้ทำงานด้วยเงิน
ยุคปัจจุบัน มองบุคคลในแง่การเป็น ทุนทางสังคม (Social Capital) และเป็น สินทรัพย์ขององค์การ (Organizational Assets) ที่มีผลต่อการสร้างโอกาส ของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์การ ให้ก้าวหน้าต่อไปในอนาคต เป็น รากฐานสำคัญที่จะปรับองค์การให้สามารถโต้ตอบกับสิ่งท้าทายต่าง ๆ ที่เกิด จากสิ่งแวดล้อมภายนอกได้อย่างมั่นใจ จึงเรียกว่า การบริหารทรัพยากร มนุษย์ (Human Resource Management : HRM) มองบุคคลในแง่การเป็น ทุนทางสังคม (Social Capital) และเป็น สินทรัพย์ขององค์การ (Organizational Assets) ที่มีผลต่อการสร้างโอกาส ของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์การ ให้ก้าวหน้าต่อไปในอนาคต เป็น รากฐานสำคัญที่จะปรับองค์การให้สามารถโต้ตอบกับสิ่งท้าทายต่าง ๆ ที่เกิด จากสิ่งแวดล้อมภายนอกได้อย่างมั่นใจ จึงเรียกว่า การบริหารทรัพยากร มนุษย์ (Human Resource Management : HRM)
วัตถุประสงค์ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 5. เพื่อสื่อสารนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้กับพนักงานทุกคนได้ ทราบ 4. เพื่อรักษาพนักงานที่มีความสามารถให้คงอยู่ได้นานที่สุด 3. เพื่อพัฒนาทักษะและความสามรถของกำลังแรงงานให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด 2. เพื่อใช้ทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 1. เพื่อจัดหาคนที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับงาน
1. หลักความเสมอภาคในโอกาส (Equality of Opportunity) โอกาสในการสมัคร การได้รับค่าตอบแทน การได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน ระบบคุณธรรม (Merit System) 4. หลักความเป็นกลางทางการเมือง (Political Neutrality) การไม่เปิดโอกาสให้มีการใช้อิทธิพลทางการเมืองเข้ามาแทรกแซงการ ทำงาน หรือไม่อยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมือง การไม่เปิดโอกาสให้มีการใช้อิทธิพลทางการเมืองเข้ามาแทรกแซงการ ทำงาน หรือไม่อยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมือง 3. หลักความมั่นคงในอาชีพ (Security On Tenure) การดึงดูด (Attraction) การรักษา (Retention) การจูงใจ (Motivation) การ พัฒนา (Development) การดึงดูด (Attraction) การรักษา (Retention) การจูงใจ (Motivation) การ พัฒนา (Development) 2. หลักความสามารถ (Competence) การใช้คนให้เหมาะสมกับงาน (Put the right man on The right job) 2 ระบบ
3. แลกเปลี่ยน 2. ชอบพอเป็นพิเศษ 1. สืบสายโลหิต 1. สืบสายโลหิต ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System)
จากเหตุคนร้ายลอบวางระเบิดรถยนต์ ผกก.บันนังสตา จ.ยะลา เมื่อวันที่ 12 มี.ค.2553 จนทำให้ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา บาดเจ็บสาหัส และทน พิษบาดแผลไม่ไหวเสียชีวิตในเวลาต่อมา รวมทั้งมีตำรวจได้บาดเจ็บอีก 4 นาย โดยเบื้องต้น เชื่อว่า เป็นการกระทำของกลุ่มก่อความไม่สงบในพื้นที่ที่ต้องการสร้างสถานการณ์ความไม่ สงบอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ความคืบหน้าล่าสุด วันที่ 13 มี.ค.พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว ที่ปรึกษา สบ 10 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พร้อมด้วยคณะได้เดินทางไปเยี่ยมตำรวจที่ได้รับ บาดเจ็บจากเหตุดังกล่าว ที่โรงพยาบาลศูนย์ยะลา อ.เมือง จ.ยะลา พร้อมกล่าวว่า กรม ตำรวจ ได้ทราบข่าวการเสียชีวิตของ พ.ต.อ.สมเพียร ผกก.บันนังสตา แล้ว ต่างรู้สึก เสียใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งทางกรมตำรวจ ได้พิจารณาตอบแทนให้เลื่อนขั้น 7 ชั้นยศ เป็น พล.ต.อ. และมอบเงินช่วยเหลือแก่ครอบครัว จำนวน 3 ล้านบาท และดูแล การศึกษาของทายาทต่อไป
ข้อเปรียบเทียบการบริหาร 2 ระบบ ระบบคุณธรรมระบบอุปถัมภ์ 1. ยึดหลักความสามารถเป็นเกณฑ์ 1. ยึดความพึงพอใจส่วนบุคคลเป็น หลัก 2. เปิดโอกาสให้บุคคลเท่าเทียมกัน 2. ให้โอกาสแก่พรรคพวกหรือญาติพี่ น้องก่อนผู้อื่น 3. มีความมั่นคงในการทำงาน 3. ขาดความมั่นคงในตำแหน่งหน้าที่ อาจถูกปลดโดยไม่รู้ตัว 4. การป้องกันอิทธิพลทางการเมือง เข้าแทรกแซงการปฏิบัติงาน 4. มีอิทธิพลทางการเมืองมา แทรกแซงการทำงาน
เป็นนักบริหาร “ อย่าทำตนเป็นคนขี่ม้าก้านกล้วย ” รังสรรค์ แสงสุข ม้าก้านกล้วย
ม้านิลมังกร : สุดสาคร ยอดอาชาในวรรณคดีไทย ม้าสีหมอก : ขุนแผน
ม้าเซ็กเธาว์ : กวนอู ม้าเต็กเลา : เล่าปี่ ยอดอาชาในสามก๊ก
1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Planning) 2. การสรรหาบุคลากร (Recruitment) 3. การคัดเลือก (Selection) 4. การพัฒนา (Human Resource Development :HRD) 6. ความปลอดภัยและสุขภาพ (Safety and Health) 5. ผลตอบแทนและผลประโยชน์เกื้อกูล (Compensation and Benefits) 7. พนักงานและแรงงานสัมพันธ์ (Employee and Labor Relations) 8. การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) กิจกรรมการบริหารทรัพยากรมนุษย์ :8
BYE. BYE.