Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ความน่าจะเป็น Probability.
กลไกการวิวัฒนาการ.
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
โครโมโซม.
แบบของการเพิ่มประชากร
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การจำลองดีเอ็นเอเกิดขึ้นในลักษณะใด
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
ดูวัวให้ดูที่หาง ดูนางให้ดูที่แม่ แต่ถ้าจะให้แน่ต้องดูที่ยาย
(quantitative genetics)
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
What is the optimum stocking rate ?
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
DNA สำคัญอย่างไร.
Artificial Intelligence (AI)
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
ความหลากหลายทางชีวภาพ
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ลักษณะทางพันธุกรรม นอกเหนือจากกฎของเมนเดล
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
Chi-square Test for Mendelian Ratio
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุง พันธุ์แพะ แสนศักดิ์ นาคะ วิสุทธิ์
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
มัลติเปิลแอลลีล (Multiple allele)
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
กลไกการเกิดวิวัฒนาการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร

มอง genetic ในภาพรวมของประชากรว่ามีค่ามากน้อย แค่ไหน เป็นการศึกษายีนในระดับประชากร … ว่ามีการกระจายของยีนใน ภาพรวมของประชากรอย่างไร

โดยทำการประเมินจาก f(gene) และ f(genotype) ซึ่งเป็นการศึกษาวิวัฒนาการ ของสัตว์ (Evolution) ซึ่งจะเป็นพื้นฐาน ของการคัดเลือก และการผสมพันธุ์ Evolution เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง f(gene) และ f(genotype)

Evolution การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับกลุ่มประชากร ไม่ใช่สัตว์ตัวใดตัวหนึ่ง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงใหม่ที่เกิดในประชากร จะเป็นวิวัฒนาการได้ ต้องมีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของ gene และ genotype

 ปัจจัยที่มีผลต่อความถี่ยีนและยีโนไทป์ ตัวอย่าง อิทธิพลของ co-dominant และ incomplete dominant กำหนดให้ยีน R = ควบคุมสีแดง, r = สีขาว โดย R>r ไม่สมบูรณ์ ดังนั้นลูกที่เกิดจากการผสมพ่อแม่ Rr x Rr จะมี genotype 3 แบบ Phenotype Genotype จำนวนสัตว์ สีแดง RR 800 สีโรน Rr 150 สีขาว rr 50

ความถี่ยีโนไทป์ที่คำนวณได้ Phenotype Genotype จำนวนสัตว์ สีแดง RR 800 สีโรน Rr 150 สีขาว rr 50 1000 ความถี่ยีโนไทป์ f(genotype) = จำนวนสัตว์ที่มียีโนไทป์นั้นๆ จำนวนสัตว์ทั้งหมด D = f(RR) = 80/1000 = 0.80 H = f(Rr) = 150/1000 = 0.15 R = f(rr) = 50/1000 = 0.05 ความถี่ยีโนไทป์ที่คำนวณได้

ดังนั้น D + H + R = 1 (0.8 + 0.15 + 0.05) D = Homozygous dominance D = f(RR) = 800/1000 = 0.80 H = f(Rr) = 150/1000 = 0.15 R = f(rr) = 50/1000 = 0.05 ดังนั้น D + H + R = 1 (0.8 + 0.15 + 0.05) D = Homozygous dominance H = Heterozygous R = Homozygous recessive

การหาความถี่ยีน f(R) = p = D+ ½ H f(r) = q = R + ½ H Gene frequency = จำนวนยีนที่กำหนด จำนวนยีนทั้งหมดในประชากร

Hardy-Weinberg law (กฎภาวะสมดุลของยีน) Gene equilibrium (ภาวะสมดุลของ ยีน) คือ ภาวะที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ภาวะของยีน และยีโนไทป์ ไม่ว่าจะ มีการผสมพันธุ์อย่างสุ่มต่อไปกี่รุ่น

ในประชากรที่มีการผสมพันธุ์แบบสุ่ม (random mating) โดยที่ไม่มีการคัดเลือก (selection), ไม่มีการกลายพันธุ์ (mutation), ไม่มีการอพยพ (migration) ไม่อยู่ในสภาพประชากรกลุ่มเล็ก(genetic drift) เข้ามาเกี่ยวข้อง ความถี่ของยีนในรุ่นลูก สามารถวัดได้จากความถี่ในรุ่นพ่อแม่ ความถี่ของยีน และ genotype มีค่าคงที่ จาก รุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง หรือเรียกว่าประชากร เข้าสู่สภาพสมดุล (equilibrium) เป็นตามกฎ ของ Hardy-Weinberg

ความถี่ genotype หลังการผสมพันธุ์จะมีค่า ดังนี้ D = p2 H = 2pq R = q2 เมื่อ p และ q เป็นความถี่เริ่มต้น

ตัวอย่าง กำหนดให้ความถี่รุ่นพ่อแม่ของยีน R (p) = 0.875 และ r (q) = 0.125 การหาความถี่ genotype ของลูกรุ่น F1 จะเป็นดังนี้ ถ้าเข้ากฎของ HW D = f(RR) = p2 = (0.875)2 = 0.766 H = f(Rr) = 2pq = 2(0.875)(0.125) = 0.218 R = f(rr) = q2 = (0.125)2 = 0.016

f(gene) ในลูกรุ่น F1 จะเท่ากับ f(gene) ของพ่อแม่ f(R) = 0.766 + ½(0.218) = 0.875 f(r) = 0.016 + ½ (0.218) = 0.125 ข้อสังเกต f(gene) ในลูกรุ่น F1 จะเท่ากับ f(gene) ของพ่อแม่

ตัวอย่าง การข่มแบบสมบูรณ์ (complete dominant) กำหนดให้ยีน d = ควบคุมลักษณะแคระ ในโคเนื้อ D = ควบคุมลักษณะรูปร่างปกติ โดย D>d อย่างสมบูรณ์ ผลปรากฏว่ามีโค แคระอยู่ 9 ตัว จาก 625 ตัว จงคำนวณ ความถี่ genotype และ ความถี่ gene